งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี

2 ความรู้เบื้องต้น

3 Sample Surveys ความคลาดเคลื่อนของการใช้ตัวอย่างเป็นเท่าไร
Sample Design Estimation Procedure วิธีการเลือกตัวอย่าง ? ขนาดตัวอย่าง ? ควรใช้ข้อมูลอะไรประมาณค่า การคำนวณค่าถ่วงน้ำหนัก ความคลาดเคลื่อนของการใช้ตัวอย่างเป็นเท่าไร

4 การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
การเลือกหน่วยตัวอย่างบางหน่วย จากหน่วยตัวอย่างทั้งหมดในประชากร เพื่อเป็นตัวแทนของประชากรที่สนใจศึกษา

5 เหตุใดต้องสุ่มตัวอย่าง
ประหยัดงบประมาณ (reduced cost (economy)) ประหยัดเวลา (greater speed and timeliness) มีคุณภาพและแม่นยํากว่า (greater quality and accuracy) สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลรายละเอียดเฉพาะเรื่องได้ (detailed/specialized information)

6 คำนิยาม สถิติ (statistic) พารามิเตอร์ (parameter) ประชากร (population)
หน่วยตัวอย่าง (sampling unit) ตัวอย่าง (sample) ขนาดตัวอย่าง (sample size)

7 คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องด้านการวิจัย
ความเที่ยง (Reliability) หมายถึง ระดับความสม่ำเสมอ หรือ ความคงที่ ที่เครื่องมือวัดค่าของสิ่งที่ต้องการวัด ความตรง (Validity) หมายถึง ระดับความสามารถในการวัด ที่เครื่องมือวิจัยจะวัดค่าของสิ่งต้องการได้ตรงความเป็นจริง ระดับความมีนัยสำคัญ (The Level Significant) หมายถึง ระดับที่สามารถยอมให้มีการคลาดเคลื่อนได้ คิดเป็นร้อยละเท่าไร (Sig 0.05/0.01)

8 แบบตัวอย่าง (sample design)

9 ประชากร (Population) หมายถึง ทุกหน่วยในเรื่องที่สนใจศึกษา
กลุ่มตัวอย่าง (Sample)หมายถึง บางส่วนของประชากร

10 หน่วยตัวอย่าง (Samplint Unit) หมายถึง หน่วยต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยดำเนินการเก็บข้อมูลและจะนำค่าของตัวแปรมาทำการวิเคราะห์หน่วยวิเคราะห์ไม่จำเป็นต้องเป็นระดับบุคคลเท่านั้น อาจเป็นระดับกลุ่ม องค์กร พื้นที่ สังคม ครอบครัว ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์

11

12 ศึกษาความต้องการการจัดตั้งสถานเลี้ยงเด็กในโรงงาน
ตัวอย่าง ศึกษาความต้องการการจัดตั้งสถานเลี้ยงเด็กในโรงงาน ประชากร คือ กลุ่มผู้บริหารโรงงานและกลุ่มคนงาน จำนวน 120,000 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารโรงงานและคนงาน จำนวน 400 คน

13 ศึกษาพฤติกรรมการใช้แก๊สโซฮอลล์ของรถยนต์
ตัวอย่าง ศึกษาพฤติกรรมการใช้แก๊สโซฮอลล์ของรถยนต์ ประชากร คือ ผู้ที่ใช้รถยนต์ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ รถยนต์ขนาด 1, ,000 cc. และขนาด 2,000 cc ขึ้นไป จำนวน 3 ล้านคน กลุ่มตัวอย่าง คือ

14 วิธีการเลือกตัวอย่าง
ใช้ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็นเท่ากัน (equal probability sampling) ความน่าจะเป็นไม่เท่ากัน (unequal probability sampling) ไม่ใช้ความน่าจะเป็น

15 การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
โดยใช้ความน่าจะเป็น หมายถึง การเลือกกลุ่มตัวอย่างจากทุกหน่วยในประชากร ด้วยเทคนิคการสุ่มตัวอย่างตามขนาดตัวอย่างที่กําหนดไว้ สามารถคํานวณหาโอกาสหรือความน่าจะเป็นที่จะถูกเลือกมาเป็นตัวแทนในตัวอย่างได้

16 การเลือกตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นเท่ากัน
การเลือกกลุ่มตัวอย่างจํานวน n หน่วยจากทั้งสิ้น N หน่วยในประชากร โดยโอกาสหรือความน่าจะเป็นของแต่ละหน่วยที่ถูกเลือกขึ้นมาเป็นตัวอย่าง (Probability of selection) สามารถคํานวณค่าได้ และมีค่าเท่ากันทุกหน่วย

17 การเลือกตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นเท่ากัน
เลือกอย่างง่าย จับฉลาก ตารางเลข ใช้คอมพิวเตอร์สุ่ม เลือกอย่างมีระบบ แบบเส้นตรง แบบวงกลม

18 วิธีการเลือกหน่วยตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling : SRS)
ข้อดี ข้อเสีย 1. ง่าย สะดวกต่อการนําไปใช้ 1. มีประสิทธิภาพน้อยกว่าการเลือกตัวอย่างด้วยวิธีอื่น 2. ไม่ต้องการข้อมูลสนับสนุน ต้องการเพียงข้อมูลครบทุกหน่วย 2. ค่าใช้จ่ายสูงในกรณีที่ใช้พนักงานไปสัมภาษณ์ 3. ไม่จําเป็นต้องมีการพัฒนาในเชิงเทคนิคที่ซับซ้อน 3. เป็นไปได้ที่จะได้ตัวแทนที่ไม่ดี ถ้าชุดตัวอย่างที่เลือกได้ไม่กระจาย

19 วิธีการเลือกหน่วยตัวอย่างแบบมีระบบ แบบเส้นตรง ( linear systematic sampling )

20 วิธีการเลือกหน่วยตัวอย่างแบบมีระบบ แบบวงกลม ( circular systematic sampling )

21 การเลือกตัวอย่างโดย ใช้ความน่าจะเป็นไม่เท่ากัน
หมายถึง การเลือกหน่วยตัวอย่างจำนวน n หน่วยจากทั้งสิ้น N หน่วย ในประชากร โดยโอกาสหรือความน่าจะเป็นของแต่ละหน่วยที(ถูกเลือกขึ้นมาเป็นตัวแทนในตัวอย่างสามารถคำนวณค่าได้ และมีค่าไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับหน่วยวัดขนาด ( measure of size : MOS ) ของหน่วยนั้นๆ เรียกว่า probability proportional to size ( PPS )

22 การเลือกตัวอย่างโดย ใช้ความน่าจะเป็นไม่เท่ากัน
แบบ PPS – random แบบ PPS - systematic

23 การเลือกตัวอย่างโดย ใช้ความน่าจะเป็นไม่เท่ากัน

24 การเลือกตัวอย่างโดย ใช้ความน่าจะเป็นไม่เท่ากัน

25 การเลือกหน่วยตัวอย่างโดย ไม่ใช้ความน่าจะเป็น
ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แท้จริง หรือไม่มีกรอบตัวอย่างที่สมบูรณ์ ทำให้ไม่สามารถใช้การเลือกหน่วยตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นได้ หน่วยตัวอย่างมีโอกาสถูกเลือกไม่เท่ากัน บางหน่วยตัวอย่างมีโอกาสถูกเลือกมากกว่าหนึ่งครั้ง หรือบางหน่วยตัวอย่างไม่มีโอกาสที่จะถูกเลือก

26 การเลือกหน่วยตัวอย่างโดย ไม่ใช้ความน่าจะเป็น
คำนึงถึงความสะดวกทั้งด้านเวลา กำลังคน และงบประมาณ รวมทั้งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลของนักสถิติเป็นหลัก จึงทำให้ไม่ทราบความน่าจะเป็นที่หน่วยแต่ละหน่วยในประชากรจะถูกเลือกเป็นตัวอย่าง ไม่สามารถอ้างอิงหรืออนุมานไปยังประชากรที่ต้องการศึกษาได้

27 การเลือกหน่วยตัวอย่างโดย ไม่ใช้ความน่าจะเป็น
บังเอิญ หรือ ตามสะดวก โควต้า เจาะจง หรือ ใช้วิจารณาญาณ

28 วิธีการเลือกหน่วยตัวอย่างโดยบังเอิญ (accidental sampling) หรือการเลือกหน่วยตัวอย่างตามสะดวก (convenience sampling) เป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างที่ไม่มีหลักเกณฑ์ กล่าวคือ เลือกใครก็ได้ที่สามารถให้ข้อมูลได้ แต่ต้องอยู่ในกลุ่มประชากรที่สนใจศึกษา เช่น พนักงานเก็บรวบรวมข้อมูลยืนอยู่ประตูหน้าห้างสรรพสินค้าเพื่อสัมภาษณ์ผู้คนที่ผ่านไปมาบริเวณนั้น

29 วิธีการเลือกหน่วยตัวอย่างแบบโควต้า (quota sampling)
ทำการจำแนกประชากรออกเป็นส่วนย่อย ๆ ก่อน ( strata ) โดยตัวแปรที่ใช้ในการจำแนกควรจะมีความสัมพันธ์กับตัวแปรที่สนใจศึกษา เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา หรือรายได้ จากนั้นพิจารณาขนาดตัวอย่างของแต่ละส่วนย่อย เพื่อกำหนดเป็นโควตา หรือจะเรียกได้ว่าเป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างโดยคำนึงถึงสัดส่วนองค์ประกอบของประชากร แล้วในแต่ละกลุ่มใช้วิธีการเลือกหน่วยตัวอย่างแบบบังเอิญ คือเจอใครก็เลือกจนครบตามจำนวนที่ต้องการ

30 วิธีการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling)
เป็นการเลือกตัวอย่างโดยใช้ดุลพินิจและการตัดสินใจของนักสถิติในการพิจารณาเลือกตัวอย่าง ว่า มีลักษณะสอดคล้อง หรือ เป็นตัวแทนที่จะศึกษาได้หรือไม่ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการสำรวจหรือไม่ นักสถิติต้องเป็นผู้ที่มีความรอบรู้ ความชำนาญและประสบการณ์

31 เปรียบเทียบการเลือกหน่วยตัวอย่างโดย ใช้และไม่ใช้ความน่าจะเป็น

32 การกำหนดขนาดตัวอย่าง
ประชากรที่ต้องการศึกษา ต้องกำหนดให้ชัดเจน ข้อสังเกต... ขนาดตัวอย่างไม่ได้เพิ่มขึ้นเป็นสัดส่วนกับขนาดของประชากร บทบาทของขนาดประชากรที่มีต่อการกำหนดขนาดตัวอย่าง มีบทบาทมากเมื่อประชากรมีขนาดเล็ก มีบทบาทน้อยลงเมื่อประชากรมีขนาดใหญ่

33 สูตรการคำนวณขนาดตัวอย่าง

34 การสุุ่มตัวอย่าง แผนการสุ่มตัวอย่างขั้นเดียว (single stage sampling)
แผนการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling) แผนการสุุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (systematic sampling) แผนการสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิ (stratified sampling) แผนการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (cluster sampling) แผนการสุ่มตัวอย่างหลายขั้น (multi stage sampling)

35 การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling)
SRS เป็นวิธีการเลือกตัวอย่างที่ง่ายที่สุดคือเป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างเพียงขั้นเดียว โดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบ random โดยที่ทุกหน่วยในประชากรมีโอกาสที่จะถูกเลือกเท่ากันหมด

36 การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling)
หลักการใช้แผนการสุุุุ่มตัวอย่างแบบ SRS ควรใช้กับประชากร ซึ่งหน่วยต่าง ๆ มีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่ และการกระจายของข้อมูลมีไม่มากนัก มีหลายวิธีที่ใช้ในการเลือกตัวอย่าง เช่น การจับสลาก การใช้ตารางเลขสุ่ม หรือ random number generators

37 การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling)

38 การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (systematic sampling)
เป็นแผนการการสุ่มตัวอย่างที่คล้ายกับ SRS คือเป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างขนาด n หน่วยจากประชากรจำนวน N หน่วยโดยทำการเลือกหน่วยตัวอย่างหน่วยแรกแบบสุ่ม จากหน่วยที่ 1 ถึง หน่วยที่ k และ ต่อจากนั้น จะเลือกหน่วยตัวอย่างต่อไปทุก ๆ k หน่วย จนกระทั่งครบ n หน่วยตามที่ต้องการ

39 การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (systematic sampling)

40 การสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิ (stratified sampling)
คือ แผนการเลือกตัวอย่างจากประชากรที่มีการแบ่งออกเป็นชั้นภูมิ (stratum) แล้วเลือกตัวแทนของประชากรในแต่ละชั้นภูมิ ตามขนาดตัวอย่างที่กำหนด เพื่อเป็นตัวอย่างในการสำารวจ

41 การสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิ (stratified sampling)
วิธีการแบ่งประชากรออกเป็นชั้นภูมิ เรียกว่า stratification แต่ละชั้นภูมิของประชากรที่แบ่งออกไปเรียกว่า stratum หลักสำคัญในการแบ่งก็คือ หน่วยที่อยูู่ในชั้นภูมิเดียวกันควรมีความคล้ายคลึงกัน (homogeneity within stratum) มากที่สุด แต่มีความแตกต่างกันระหว่างชั้นภูมิมากที่สุด (heterogeneity between stratum )

42 การสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิ (stratified sampling)

43 การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (cluster sampling)
เป็นวิธีการสุ่มตัวอย่างที่มีการรวมหน่วยตัวอย่างเข้าไว้เป็นกลุ่ม (cluster) จำนวน M กลุ่ม แล้วทำการสุ่มเลือกกลุ่มของหน่วยตัวอย่างมา m กลุ่ม โดยใช้การเลือกตัวอย่างวิธีใดวิธีหนึ่ง

44 การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (cluster sampling)

45 การสุ่มตัวอย่างหลายขั้น (multi stage sampling)
เป็นการสุ่มหลายขั้น โดยสุ่มหน่วยใหญ่ก่อนแล้วจึงสุ่มหน่วยย่อยในหน่วยใหญ่นั้น เรียกว่า เป็นการ sub-sample ในทางปฏิบัติจะสุ่มอย่างมากเพียง 3 ขั้น

46 การสุ่มตัวอย่างหลายขั้น (multi stage sampling)

47 การตั้งชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องควรมีความหมายที่ระบุการศึกษาวิจัย ว่าทำวิจัยอะไร กับใคร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด หรือต้องการผลอะไร

48 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
เขียนสภาพทั่วไปในภาพกว้างก่อน ว่ามีประเด็นหรือปัญหาอะไรบ้าง ประเด็นที่ต้องการศึกษาคือ ประเด็นใด มีใครได้ศึกษาเรื่องนี้มาบ้าง ได้ผลอย่างไร ความจำเป็น คุณค่าและประโยชน์ที่จะได้จากผลการวิจัย

49 คำถามของการวิจัย (Research Question)
ต้องตอบวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษาได้

50 วัตถุประสงค์/จุดมุ่งหมายของการวิจัย
ต้องการศึกษาในประเด็นใดบ้าง ต้องมีความชัดเจนและเฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ ใช้คำว่า เพื่อศึกษา เพื่อเปรียบเทียบ เพื่อวิเคราะห์ ฯลฯ ห้ามใช้คำว่า “เพื่อทราบ”

51 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
ประโยชน์ที่จะนำไปใช้ได้จริงในด้านวิชาการ ประโยชน์ในเชิงประยุกต์ เช่น สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปกำหนดนโยบาย หรือ กลยุทธ์

52 ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตด้านเนื้อหา ขอบเขตด้านกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ขอบเขตด้านระยะเวลา

53 ตัวแปร (Variables) โดยทั่วไปตัวแปรมี 3 ชนิด คือ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และตัวแปรภายนอกหรือตัวแปรแทรกซ้อน

54 สมมติฐาน เป็นการคาดคะเนคำตอบอย่างมีเหตุผล
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ/ตัวแปรต้น (Independent Variables) และตัวแปรตาม (Dependent Variables) สมมติฐานต้องตอบวัตถุประสงค์การวิจัยได้ครบถ้วน สามารถทดสอบ และวัดได้

55 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่ออุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณ จ.กาญจนบุรี

56 ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่ออุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณ จ.กาญจนบุรี

57 ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่ไปท่องเที่ยวน้ำตกเอราวัณ จ.กาญจนบุรี จำนวน 81,000 (สำนักงานท่องเที่ยว, 2559) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่ไปท่องเที่ยวน้ำตกเอราวัณ จ.กาญจนบุรี จำนวน 398 คน โดยใช้ตาราง Krejcie and Morgan

58 ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตด้านระยะเวลา เดือน กพ. 59 – ตค. 59

59 กรอบในการวิจัย

60 สมมติฐาน นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีเพศต่างกันมีความพึงพอใจต่ออุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณแตกต่างกัน นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีอายุต่างกันมีความพึงพอใจต่ออุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณแตกต่างกัน นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีความพึงพอใจต่ออุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณแตกต่างกัน นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีอาชีพต่างกันมีความพึงพอใจต่ออุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณแตกต่างกัน

61 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการท่องเที่ยว แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับนันทนาการ ข้อมูลเกี่ยวกับอุทยานน้ำตกเอราวัณ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในและต่างประเทศ

62 แบบฝึกหัด กรอบแนวคิดในการวิจัย

63 ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตของเนื้อหา
ปัจจัยของสื่อโฆษณาภายนอกที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค ได้แก่ ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการบริโภคสื่อ ความเป็นปัจจุบันของสื่อความน่าชื่อถือ ข้อมูลครบถ้วน รูปแบบ สีสัน ขนาดและความแปลกใหม่ของชิ้นงานโฆษณา ปัจจัยระดับการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ ที่มีต่อสื่อโฆษณาภายนอก ได้แก่ ด้านสถานที่ ด้านระยะเวลาด้านรูปแบบ และด้านข้อมูล

64 ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- ประชากร คือ ประชากรที่อาศัยอยู่ในอำเภอพระนครศรีอยุธยา และอำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน - กลุ่มตัวอย่าง ได้มาจากซึ่งได้มาจากสูตรการคำนวณ กรณีไม่ทราบจำนวนประชากรผู้บริโภคสื่อโฆษณาภายนอก ได้จำนวน 385คน

65 ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตด้านระยะเวลา
ระหว่างเดือนตุลาคม 2559 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2560

66 Q&A


ดาวน์โหลด ppt การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google