จังหวัดจันทบุรี วันที่ กุมภาพันธ์ 2562

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
Advertisements

ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จังหวัดจันทบุรี วันที่ 11-13 กุมภาพันธ์ 2562 นำเสนอผลการตรวจราชการรอบปกติ รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2562 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการสุขภาพ จังหวัดจันทบุรี วันที่ 11-13 กุมภาพันธ์ 2562

แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 คณะ 3 : การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ  ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 3.2 จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข หัวข้อ : HRH Transformation   ตัวชี้วัดที่ 3.3 เขตสุขภาพดำเนินการ Digital transformation ตัวชี้วัดที่ 3.4 มีการใช้ Application สำหรับ PCC ใน PCC ทุกแห่ง หัวข้อ : Digital Transformation  On Process ตัวชี้วัดที่ 3.5 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7 ≤ ร้อยละ 4  หัวข้อ:Financial Management  ตัวชี้วัดที่ 3.6 ร้อยละของ รพ. สังกัด กสธ. มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 ตัวชี้วัดที่ 3.7 ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัด สป. ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด หัวข้อ : Quality Organization   หัวข้อ : เขตสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 3.8 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีนวัตกรรมการบริหารจัดการ  ตัวชี้วัดที่ 3.9 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัด กสธ. ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA ตัวชี้วัดที่ 3.10 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัด สป. มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด  หัวข้อ : ระบบธรรมาภิบาล

ตัวชี้วัดที่ 3.1 : ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ ผลการดำเนินงาน 1.มีระบบการบริหารจัดการข้อมูลด้านกำลังคนอย่างมีประสิทธิภาพ 1 2. มีแผนบริหารตำแหน่ง 2.1 แผนกำลังคน 2.2 แผนบริหารตำแหน่งฯ 2.3 แผนพัฒนาบุคลากร 1.จัดทำฐานข้อมูลกำลังคนเป็นปัจจุบัน มีตำแหน่งว่าง 85 ตำแหน่ง 1) ใช้ไม่ได้ จำนวน 19 ตำแหน่ง 2) ใช้ได้ จำนวน 66 ตำแหน่ง (เก่า 52 คน ดำเนินการแล้ว ใหม่ 14 คน มีแผนฯ) 2. ตำแหน่งที่ใช้ได้ 66 ตำแหน่ง มีแผนการบริหารตำแหน่ง 3. ตำแหน่งว่างลดลง ผ่านเกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ 5

ตัวชี้วัดที่ 3.2 : จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข ประเด็นการตรวจ ราชการที่มุ่งเน้น เป้าหมาย มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ รอบ 1 จัดทำแผนขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข ตรวจแผนขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข หน่วยงานมีการวิเคราะห์ผลและจัดทำแผนขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข ข้อมูล ณ 5 ก.พ. 2562 3 เดือน 6 เดือน ร้อยละ 70 ของบุคลากรทำ Happinometer ของหน่วยงานทำ HPI ร้อยละ 70 ของหน่วยงานวิเคราะห์ผล/จัดทำแผนสร้างสุข Small success ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 70 ของบุคลากรในองค์กรประเมิน Happinometer & HPI รายการ จำนวนทั้งหมด ตอบแบบประเมิน ร้อยละ Happinometer 4,647 3,651 78.57 % HPI 357 309 86.55 % ปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงานรอบ 3 เดือน Admin ระดับหน่วยงาน ลงข้อมูลผู้ตอบแบบประเมินไม่ถูกต้อง ซึ่งต้องให้ผู้ดูแลระบบของกระทรวงเป็นผู้แก้ไขข้อมูลให้ ผู้ประเมินกรอกข้อมูลผิด ทั้งรหัสสถานบริการหรือหมายเลขบัตรประชาชน ซึ่งต้องส่งให้ Admin กระทรวงเป็นผู้แก้ไขข้อมูลให้ จำนวนข้อในแบบประเมินมีจำนวนมาก ใช้เวลานาน กลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากมีผู้ลาออก ส่งผลกระทบต่อร้อยละของผู้ประเมิน และการแก้ไขจำนวนกลุ่มเป้าหมายต้องให้ Admin กระทรวงแก้ไข โดยส่งมา mail ซึ่งค่อนข้างล่าช้า

ตัวชี้วัดที่ 3.3 : เขตสุขภาพมีการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital เป้าหมาย : รพศ./รพท./รพช. สังกัด สป. และ รพ. สังกัด กรม ใน สธ. เกณฑ์ : ผ่านเกณฑ์ Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital ระดับ 2 ขึ้นไป เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ รอบ 1 รพศ./รพท. ทุกแห่งมีบริการระบบจองคิวออนไลน์ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่าน HIS Gateway และปรับกระบวนการ เพื่อใช้ใบสั่งยาในรูปแบบอิเลคทรอนิกส์ 50% ของ รพช. และ รพ. สังกัดกรมฯ มีบริการระบบจองคิวออนไลน์ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่าน HIS Gateway และปรับกระบวนการเพื่อใช้ใบสั่งยาในรูปแบบอิเลคทรอนิกส์ ประเด็นการตรวจ ราชการที่มุ่งเน้น Small success 3 เดือน 6 เดือน รพ. รับทราบแนวทางการดำเนินงาน และการประเมินผลตามเกณฑ์ Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital 50% ของ รพศ./รพท. ผ่านเกณฑ์ระดับ2 30% ของ รพช. ผ่านเกณฑ์ระดับ2 30% ของ รพ. สังกัดกรมวิชาการ ผ่านเกณฑ์ระดับ2 ผลการดำเนินงาน อยู่ระหว่างดำเนินการ มีการกำหนดพื้นที่ดำเนินการในปี 2562 แผนพัฒนา ปี 2562 ยกระดับคุณภาพการบริการในหน่วยบริการสุขภาพ ให้ทันสมัยและได้มาตรฐาน ด้วยการนำเทคโนโลยีด้านดิจิทัล มาประยุกต์ใช้ร่วมกับระบบสารสนเทศที่มีอยู่ ระบบคิว Online ประเภท เป้าหมาย ผ่าน ร้อยละ จำนวน(แห่ง) ระดับ 1 ระดับ 2 รพศ./รพท. 1   รพช. 11 ยังไม่ได้ใช้ระบบคิว 12 แห่ง ระบบ HIS Gateway ดำเนินการ 10 แห่ง ยังไม่ได้ดำเนินการ 2 แห่ง

1.มีการใช้ Web Application KSK Home Health Care ใน FCT ทั้ง 10 แห่ง ตัวชี้วัดที่ 3.4 : มีการใช้ Application สำหรับ PCC ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เป้าหมาย : ทีม PCC ทุกแห่ง ที่ขึ้นทะเบียนคลินิกหมอครอบครัวตามเกณฑ์ของ สสป. ในปี 2562 เกณฑ์ : มีการนำ App. PPC ไปใช้ปฏิบัติงานบริการประชาชนในความรับผิดชอบ ประเด็นการตรวจ ราชการที่มุ่งเน้น เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ รอบ 1 ทีม PCC ทุกแห่ง ที่ขึ้นทะเบียนคลินิกหมอครอบครัวตามเกณฑ์ของ สสป. ในปี 2562 มีการนำ App. PPC ไปใช้ปฏิบัติงาน 3 เดือน 9เดือน 6 เดือน 12 เดือน มีข้อสรุปการพัฒนา app. PCC (ส่วนกลาง) เขตสุขภาพคัดเลือก PCC นำร่อง Small success พัฒนา app. PCC ทีม PCC นำร่อง ทดลองใช้งาน app. PCC 50% ของทีม PCC นำ App. PPC ไปใช้ 100% ของทีม PCC นำ App. PPC ไปใช้ ผลการดำเนินงาน อยู่ระหว่างดำเนินการ มีการกำหนดพื้นที่ดำเนินการในปี 2562 ประเภท เป้าหมาย (แห่ง) ผ่าน(แห่ง) ร้อยละ PCC 6 1.มีการใช้ Web Application KSK Home Health Care ใน FCT ทั้ง 10 แห่ง 2.รอการพัฒนา Application สำหรับ PCC จากส่วนกลาง (ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร / สำนักสนับสนุนระบบปฐมภูมิ (สสป.) สป. )

มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ ค่าจาก Planfin ของหน่วยบริการ ตัวชี้วัดที่ 3.5 : ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7 (ไม่เกิน 4%) ประเด็นการตรวจ ราชการที่มุ่งเน้น มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ 1. การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ 3. สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 2. พัฒนาการบริหารระบบบัญชี 4. ติดตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทางการเงิน จังหวัดจันทบุรี ไม่มีโรงพยาบาลมีปัญหาการเงินการคลัง วิกฤติระดับ 7 (ข้อมูลการเงิน ณ ธันวาคม 2561) ผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินการ ณ ไตรมาส1/2562 ที่มี ผลต่าง PlanFin รายจ่าย- แผน > 5% หน่วยบริการ ที่มี EBITDA ติดลบ ( Cash Flow) เขต จังหวัด โรงพยาบาล EBITDA   ค่าจาก Planfin ของหน่วยบริการ ผลการดำเนิน งานจริง ผลต่าง(บาท) ผลต่าง(%) 6 จันทบุรี โรงพยาบาลพระปกเกล้า 28,798,000.00 -38,479,772.77 -67,277,772.77 -233.62

ค่าจาก Planfin ของหน่วยบริการ หน่วยบริการ ที่มี NI ติดลบ (ภาพรวม) จังหวัด โรงพยาบาล ค่าจาก Planfin ของหน่วยบริการ ผลการดำเนินงานจริง ผลต่าง(บาท) ผลต่าง(%) จันทบุรี โรงพยาบาลพระปกเกล้า 303,950.00 -55,319,337.35 -55,623,287.35 -18,300.14 สิ่งดีๆ ที่พบ คุณภาพระบบบัญชี A+= 2 แห่ง A = 10 แห่ง ในไตรมาสที่ 1 ไม่มีความเสี่ยงระดับ 4-7 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญในการดำเนินงานการเงินการคลัง มีและใช้แผนทางการเงิน มีการติดตามสถานการณ์การเงินในการประชุมของคณะกรรมการอำนวยการในคณะกรรมการบริหารระบบและเครือข่ายบริการสุขภาพ จังหวัดจันทบุรี (คอจ.) ทุกเดือน การดำเนินงานควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน จากการยกหนี้ระหว่างหน่วยบริการ พี่ดูแลน้อง

ตัวชี้วัด 3.6: ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพ มาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 (รพศ./รพท.ร้อยละ 100 รพช. ร้อยละ 90 ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด ปี 2561 สรุปผล   เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 1. รพศ./รพท. 1 แห่ง 1 100 ผ่าน 2. รพช. 11 แห่ง 11 10 90.2 หมายเหตุ : รพ.แก่งหางแมว ส่งเอกสาร รอ สรพ.กำหนดวัน accredit เดือนพฤษภาคม 2562 Key Success Factor โอกาสพัฒนา - สสจ.จันทบุรี มีผู้รับผิดชอบงานพัฒนาคุณภาพ เป็นผู้ประสานงานที่เข้มแข็ง ร่วมสนับสนุนและติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ - รพ.ทุกแห่ง มีผู้นำและทีมนำระบบคุณภาพที่เข้มแข็งเช่นเดียวกัน ทั้ง 2 ปัจจัยส่งผลให้มีการวางระบบการพัฒนาคุณภาพด้วยรูปแบบ QLN และดำเนินกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้สามารถพัฒนาคุณภาพได้อย่างต่อเนื่อง ขยายเครือข่ายทีมพี่เลี้ยง QLN โดยใช้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญตามประเด็นมาตรฐานคุณภาพ HA ฉบับใหม่

มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ อยู่ระหว่างดำเนินการ ตัวชี้วัดที่ 3.7 : ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัด สป. ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สถานการณ์ : ปี 2561 ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด เป้าหมาย มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ ผลลัพธ์ที่ต้องการ รอบ 1 ส่งเสริม สนับสนุน สสจ./สสอ. ดำเนินการประเมินตนเองหมวด 2 และหมวด 4 ตามแบบฟอร์ม F1 - F5 สสจ./สสอ. จัดทำแบบฟอร์ม F1 - F5 ได้ครบถ้วนและส่งภายในเวลาที่กำหนด ประเด็นการตรวจ ราชการที่มุ่งเน้น Small success 3 เดือน ดำเนินการพัฒนาองค์การได้  60% ของแผนพัฒนาองค์การ Self-Assessment หมวด 2 กับหมวด 4 แบบฟอร์ม F1 - F5 6 เดือน ผลการดำเนินงาน หน่วยงาน ผลงาน ปี 2562(หมวดP,2,4) เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ สรุปผลตัวชี้วัด หมวด 2 และ4 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1 100 อยู่ระหว่างดำเนินการ 2. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (เป้าหมายปี 2562 ได้แก่ อำเภอเมือง/แหลมสิงห์/แก่งหางแมว/นายายอาม) แต่ดำเนินการตามแนวทางครบทุกอำเภอ 4 ระหว่างดำเนินการ สถานการณ์ สสจ.จันทบุรี ดำเนินการ ในหมวดที่ ๑ และหมวด ที่ 5 ในปี 2561 ครบถ้วนทุกองค์กรและดำเนินการ ปรับปรุงลักษณะสำคัญขององค์กร ตามหมวด ที่กำหนด (ปี 62– หมวดP, หมวด2, หมวด4) ข้อเสนอแนะ ทบทวนข้อมูลที่ต้องรายงานกระทรวงฯ 5 แบบฟอร์มให้ครบถ้วนและรายงานเพิ่มเติมพร้อมรายงานผลการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ในระบบช่วงระยะเวลาที่กระทรวงฯ เปิดระบบรายงาน (11 ก.พ.- 2 เม.ย.)

ตัวชี้วัดที่ 3.8 : ร้อยละของเขตสุขภาพมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ (100%) ประเด็นการตรวจ ราชการที่มุ่งเน้น เป้าหมาย : รูปแบบบริการ OPD service/Operation Service เขตสุขภาพ 1 ระบบบริการ Peer to peer จังหวัด 1 ระบบบริการ Peer to peer มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ 1.พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อน 2. พัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์ เรื่อง : การบริหารจัดการร่วม ระหว่างโรงพยาบาลท่าใหม่กับโรงพยาบาลสองพี่น้อง ผลการดำเนินงาน 1.ประชุมหารือร่วมกันระดับจังหวัด 2.ประชุมเครือข่ายในระดับอำเภอท่าใหม่ 3.ศึกษา/วิเคราะห์ข้อมูล ความเป็นไปได้ 1.บริหารข้อมูลร่วม ในประเด็น 1)ราคาสินค้าในการจัดซื้อจัดจ้าง 2)เทียบเคียงระบบข้อมูลด้านการเงินบัญชี ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1.ผู้บริหารระดับเขต จังหวัดและอำเภอ 2.ทั้ง 2 รพ. ใช้ ผอ.รพ.ร่วม 3. คณะกรรมการฯ ของเครือข่ายท่าใหม่ 2.บูรณาการการทำงาน - การประชุมร่วม การบริหารบุคลากรร่วม บูรณาการห้องปฏิบัติการนอกเวลาราชการและยานพาหนะ การบริหารจัดการร่วม 3.บริหารพัสดุร่วม - วัสดุสำนักงาน ในรูปแบบการตกลงร่วม 4.บริหารยาร่วม - เลือกบริษัท ที่จะจัดซื้อร่วมกัน และวางแผนสำรองยาร่วมกันในส่วนของ ยาที่เป็นยาทีมีอัตราการใช้น้อย 5.บริหารจัดการหน่วยจ่ายกลางร่วม - กำหนดให้โรงพยาบาลสองพี่น้องเป็นผู้ดำเนินการหน่วยจ่ายกลาง ของทั้งสองโรงพยาบาล

ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ 3.9 : ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA ประเด็นการตรวจ ราชการที่มุ่งเน้น ตัวชี้วัด : การจัดซื้อจัดจ้าง (EB1- EB4) ที่ระดับ 3 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 หน่วยงานเป้าหมาย จำนวน 23 แห่ง - ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านการจัดซื้อจัดจ้าง (EB1-EB4) จำนวน 23 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย แผนงานเพื่อการพัฒนา : 1) พัฒนาบุคลากร ด้านการบริหารการจัดซื้อจัดจ้าง การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน 2) ทบทวนและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์การประเมินให้กับทุกหน่วยงาน 3) กำกับ ติดตามการดำเนินงานประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสประเมิน ในเดือน ธันวาคม มีนาคม และ พฤษภาคม 2562 1) มีการพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่บุคลากร เกี่ยวกับเกณฑ์การประเมิน 2) มีการกำกับติดตามการดำเนินงานก่อนการตรวจประเมินในทุกไตรมาสที่มีประสิทธิภาพ

ดำเนินการประเมินระบบ EIA ครบ 12 หน่วยบริการ ตัวชี้วัดที่ 3.10: ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัด สป. มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด กำกับและติดตามผลการประเมินระบบควบคุมภายในด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Internal Audit : EIA) และการประเมินการตรวจสอบงบการเงินของหน่วยบริการ ประเด็นการตรวจ ราชการที่มุ่งเน้น ผลการดำเนินงาน เกณฑ์การประเมินผล กลุ่มเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน ประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (EIA) โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และ โรงพยาบาลชุมชน มีการจัดทำคำสั่ง และ ดำเนินการประเมินระบบ EIA ครบ 12 หน่วยบริการ 2. หน่วยบริการมีการดำเนินการประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (EIA) 3. ประเมินตามแนวทางการตรวจสอบงบการเงิน โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ระดับ 4-7

รพ.เขาสุกิม และ รพ.มะขาม การตรวจสอบงบการเงิน รพ.เขาสุกิม และ รพ.มะขาม ข้อตรวจพบ ข้อเสนอแนะ 1. การจัดทำทะเบียนคุมยังไม่ครบถ้วน 2. ขาดการสอบทานข้อมูลเพื่อยันยอดระหว่างกลุ่มงานบางส่วน 3. การประสานข้อมูลระหว่างกลุ่มงานยังไม่ครบถ้วน 1. จัดทำทะเบียนคุมให้ครอบคลุมทุกรายการ (เป็นแนวทางในการควบคุมภายใน) 2. ควรมีการประสานข้อมูลระหว่างกลุ่มงาน และสอบทานข้อมูลเพื่อยืนยันยอดให้ถูกต้องและครบถ้วน รพ.ขลุง ข้อตรวจพบ ข้อเสนอแนะ 1. ขาดระบบควบคุมภายในในกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและนำส่งข้อมูล 2. ไม่ดำเนินการจัดทำทะเบียนคุม 3. ขาดการสอบทานข้อมูลเพื่อยันยอดระหว่างกลุ่มงาน 4. ขาดการประสานข้อมูลระหว่างกลุ่มงาน 5. การบันทึกบัญชีไม่เป็นไปตามนโยบายบัญชีภาครัฐ 1. จัดวางระบบควบคุมภายในในแต่ละงานให้มีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและนำส่งข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดที่งานบัญชี 2. จัดทำทะเบียนคุมให้ครอบคลุมทุกรายการ (เป็นแนวทางในการควบคุมภายใน) 3. ให้มีการประสานข้อมูลระหว่างกลุ่มงาน และสอบทานข้อมูลเพื่อยืนยันยอดให้ถูกต้องและครบถ้วน 4. ดำเนินการบันทึกบัญชีให้เป็นไปตามนโยบายบัญชีภาครัฐ *** งบการเงินไม่แสดงฐานะทางการเงินของหน่วยงานตามความเป็นจริง ข้อมูลอ้างอิงไม่มีที่มา ขาดความน่าเชื่อถือ