บทที่ 6 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Inkjet Printer. Inkjet โดย 1. นางสาววิจิตรา ขจร นางสาววิภาพรรณ คิดหมาย นางสาวศรัญญา มิตรเจริญ พันธ์
Advertisements

เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
PhotoScape.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การเผยแพร่เอกสาร (Publish)
พื้นฐานการใช้งานโปรแกรมAdobe Photoshop
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1.  Flash เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูง สำหรับงานด้านกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว ตลอดจนมัลติมีเดียสำหรับเว็บ โดย ลักษณะเด่นของภาพเคลื่อนไหวที่ได้จาก โปรแกรม.
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
Adobe Photoshop ลักษณะ Software ที่ฉันชอบ ลักษณะ Software ที่ฉันชอบ วิธีการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop วิธีการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop เหตุผลที่ชอบ.
การใช้งาน Microsoft Excel
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
AcuLearn กับงานบริการด้านการ เรียนการสอน กองเทคโนโลยี สารสนเทศ.
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ หน่วยรับเข้า และ หน่วยส่งออก ( In put, Out put )
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
การออกแบบและเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่องานออกแบบ
บทที่ 8 : วิดีโอ (Video) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (Computer-Aided Design)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
บทที่ 5 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 07 : Windows Movie Maker Part 2 พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
บทที่ 9 : วิดีโอ (Video) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Integrated Information Technology
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ
Microsoft PowerPoint Part 2
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
SMS News Distribute Service
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ชนิดของภาพบิตแมป อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล ขั้นตอนการประมวลผลภาพ คุณภาพของรูปภาพดิจิตอล ไฟล์ภาพชนิดต่างๆ เครื่องพิมพ์ ซอฟต์แวร์สำหรับภาพกราฟิก

ชนิดของภาพบิตแมป ภาพบิตแมปเป็นภาพดิจิตอลที่เกิดจากการเก็บค่าสีของ ทุกพิกเซลเอาไว้ในรูปของอาร์เรย์ โดยความสวยงาม ของภาพจะขึ้นอยู่กับจำนวนสีที่แต่ละพิกเซลสามารถ แสดงได้ ชนิดของภาพบิตแมปประกอบไปด้วย ภาพขาวดำ 1 บิต (Monochrome) - ค่าสีของพิกเซลจะเป็น 0 หรือ 1 เท่านั้น ภาพโทนสีเทา 8 บิต (Grayscale) - มีค่าสีแต่ละพิกเซล ตั้งแต่ 0 ถึง 255 ภาพสี 8 บิต - หรือภาพแบบ 256 สี ภาพสี 24 บิต – แต่ละพิกเซลจะมีขนาด 3 ไบต์ แต่ละไบต์ แทนค่า RGB ตั้งแต่ 0 ถึง 255 แต่ละพิกเซลสามารถแสดงสีได้ 16.7 ล้านสี (256x256x256)

ตัวอย่างภาพบิตแมปชนิดต่างๆ Monochrome Grayscale

ตัวอย่างภาพบิตแมปชนิดต่างๆ [2] Color 24 bit Color 8 bit

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล อุปกรณ์นำเข้าภาพดิจิตอลที่สำคัญ ได้แก่ เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) กล้องดิจิตอล (Digital Camera)

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Scanner

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Scanner [2] ประเภทของสแกนเนอร์ Flat Scanner – ใช้งานตามบ้านหรือสำนักงานทั่วไป สแกนรูปหรือเอกสารทั่วๆไป Drum Scanner – สแกนงานคุณภาพสูง ภาพที่สแกน ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบฟิล์ม หรือภาพความละเอียดสูง Bar Code Scanner - ใช้อ่านบาร์โค้ดที่มีขนาดความ กว้างและพื้นที่ระหว่างเส้นต่างกัน

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Scanner [3] คุณภาพการสแกนจะขึ้นอยู่กับความละเอียด (Resolution) และจำนวนสี (Color Depth) ความละเอียด - วัดได้ในหน่วยจุดต่อนิ้ว (Dot Per Inch : dpi) ยิ่งค่า dpi มาก ยิ่งมีความละเอียดมาก แต่จะใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมากตามไปด้วย จำนวนสี – สแกนเนอร์ทั่วไปจะใช้ 24 บิต แต่ สำหรับเครื่องสแกนเนอร์คุณภาพสูง จะกำหนด จำนวนบิตได้มากขึ้น

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Digital Camera กล้องดิจิตอลสามารถถ่ายได้ทั้งภาพนิ่ง และ ภาพเคลื่อนไหว บันทึกและจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบดิจิตอลลงใน หน่วยจัดเก็บข้อมูล แทนการบันทึกลงแผ่นฟิล์ม เหมือนกล้องฟิล์มในยุคก่อน

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Digital Camera [2]

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Digital Camera [3] กล้องดิจิตอลมีซอฟต์แวร์ที่ถูกติดตั้งอยู่ใน ROM (ปกติจะเรียกว่า Firmware) ผู้ใช้สามารถเลือกโหมดกล้องเพื่อใช้ถ่ายภาพ และโหมดเพลย์สำหรับแสดงผลภาพถ่าย รวมถึง การจัดการกับภาพถ่ายด้วย

ขั้นตอนการประมวลผลภาพ Input แปลงภาพจากอนาล็อกเป็นดิจิตอล นำภาพเข้าสู่คอมพิวเตอร์ Edit Color Calibration เป็นการปรับปรุงสีตามหลักคณิตศาสตร์ เพื่อให้ภาพแสดงบนจอได้อย่างเหมาะสม ใช้ซอฟต์แวร์สำหรับแก้ไขและตกแต่งภาพในคอมพิวเตอร์ Output นำเสนอข้อมูล อัพโหลดลงเว็บไซต์ ทำแคตาล็อก

คุณภาพของรูปภาพดิจิตอล ขึ้นอยู่กับ จำนวนพิกเซลในแนวตั้งและแนวนอน (Pixel Dimension) ความละเอียดของภาพ (Image resolution) หน่วย เป็นจำนวนพิกเซลต่อนิ้ว (ppi) ขนาดไฟล์ (File Size) คำนวณได้จากสมการ File Size (Byte) = (Pixel Width x Pixel Height) x (Bit Depth/8) จำนวนสี (Color Depth) หรือจำนวนบิต (Bit Depth)

ไฟล์ภาพชนิดต่างๆ [1] BMP (Bitmap) – เป็นไฟล์มาตรฐานบนวินโดวส์ แสดงผลได้ 16.7 ล้านสี คุณภาพต่ำกว่า JPEG JPEG (Joint Photographer Expert Group) – เป็นไฟล์ภาพทั่วไป รองรับสีทั้งในโหมด CMYK, RGB GIF (Graphic Interchange Format) – เป็นไฟล์ ภาพที่มีขนาดเล็ก แสดงสีได้ไม่เกิน 256 สี นิยม ใช้ในงานออกแบบโลโก้ หรือไฟล์รูปบนเว็บไซต์ ต่างๆ

ไฟล์ภาพชนิดต่างๆ [2] TIFF (Tag Image File Format) – ใช้งานได้กับ โปรแกรมด้านกราฟิกทุกประเภท มีความยืดหยุ่นสูง รองรับโหมดสี RGB, CMYK, Lab PNG (Portable Network Graphic) – ใช้วิธีการ บีบอัดที่มีประสิทธิภาพ เก็บรักษาคุณภาพเอาไว้ได้ แสดงผลสีได้ 24 บิต PICT (Picture) – นิยมใช้กับแพล็ตฟอร์ม Macintosh แสดงสีได้ 16.7 ล้านสี PSD (Photoshop Document) – ใช้ในโปรแกรม Adobe Photoshopเป็นไฟล์ภาพคุณภาพสูง ทำ การบันทึกแยกเลเยอร์ เก็บคุณสมบัติของภาพไว้ ครบทุกรายละเอียด

เครื่องพิมพ์ การแสดงผลลัพธ์บนเครื่องพิมพ์ – ปัจจัยที่สำคัญ ที่สุดที่ส่งผลต่อคุณภาพในการพิมพ์คือ ความ ละเอียดของเครื่องพิมพ์ มีหน่วยเป็นจุดต่อนิ้ว (dpi) เครื่องพิมพ์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ Laser Printer Inkjet Printer

เครื่องพิมพ์ : Laser Printer ถูกพัฒนาในปี 1984 โดย Hewlett Packard โดยนำเทคโนโลยีเครื่องถ่ายเอกสารของ Canon มาใช้ เครื่องพิมพ์เลเซอร์จะใช้แสงเลเซอร์สร้างภาพที่ ต้องการลงบนแท่งทรงกระบอก (Drum) บริเวณขอ งดรัมที่ถูกแสงเลเซอร์จะมีประจุเป็นบวก เมื่อดรัม หมุนมาถึงตัวปล่อยผงหมึก ผงหมึกจะเกาะบริเวณที่ มีไฟฟ้าเป็นบวก แล้วจะซึมลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์มีคุณภาพสูง และมีค่าใช้จ่ายในการ พิมพ์ต่ำ

หลักการทำงานของเครื่องพิมพ์เลเซอร์

เครื่องพิมพ์ : Inkjet Printer ใช้หลักการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า บังคับให้หัวฉีดพ่นละอองหมึกลงบนแผ่นกระดาษ เทคโนโลยีอิงค์เจ็ตมี 2 ประเภท ดังนี้ เทคโนโลยีการใช้ความร้อน (Thermal Technology) – จะใช้ความร้อนในการพ่นหมึกให้เป็นฟองลงบน แผ่นกระดาษ นิยมใช้ในเครื่องพิมพ์ Canon และ HP ข้อเสียคือหากพิมพ์มากเกินไปจะทำให้เกิดความร้อนสูง เทคโนโลยี Piezo Electric – พัฒนาโดย Epson โดย ใช้ Piezo Crystal ซึ่งเป็นผลึกที่มีคุณสมบัติที่เกิดการ สั่นสะเทือนเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจนเกิดแรงผลักให้ หัวพ่นหมึกออกมา ข้อดีคือไม่ต้องผ่านกระบวนการทาง ความร้อน

หลักการทำงานของเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ต Thermal Inkjet Piezo Electric Inkjet

ซอฟต์แวร์สำหรับภาพกราฟิก