สรุปเนื้อหาวิชาการ Track A: Epidemiology and Prevention นพ. สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็นการนำเสนอ สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ความก้าวหน้าและความท้าทายในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ 2.1 เทคโนโลยีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี 2.2 การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในประชากรกลุ่มเฉพาะ 3. การป้องกันและดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Plenary 1 เรื่อง Symposium 11 เรื่อง Skill building 5 เรื่อง Oral presentation 6 เรื่อง
สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Thailand HIV/AIDS Situations Condom use at last sex (2012) FSW 93.6% ↔ MSM 85.5% ↑ PWID 49.1% ↑ ม.5/อาชีวะ 72-73% ↑ เป้าหมาย 90% VCT and knowing status (2012) Status of epidemics ANC represents a prevalence of HIV in women. Military conscripts represents a prevalence of HIV in men. FSW 55.6% ↑ MSM 25.6% ↑ MSW 52.4% ↑ PWID 43.6% ↑ เป้าหมาย 90% Needle and Syringe exchange PWID 78% (2010) 81%(2012) Source: IBBS and Sentinel surveillance in 2013 Thailand AIDS Response Report
อัตราป่วย STI รวม 5 โรค จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2547-2556 ที่มา: รายงานการเฝ้าระวังโรค (รง.506) ส.ระบาดวิทยา
การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย ผู้ติดเชื้อรายใหม่ น้อยกว่า 1,000 คนต่อปี UN Joint Team Thailand การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย ผู้ติดเชื้อรายใหม่ น้อยกว่า 1,000 คนต่อปี ขจัดการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกให้หมดไป Source: Symposium 10: Antiretroviral Drugs as Treatment and Prevention
ความก้าวหน้าและความท้าทาย ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี 2. ความก้าวหน้าและความท้าทาย ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
2.1 เทคโนโลยีการป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวี
ความท้าทายของการขจัดการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกให้หมดไป Mother-to-Child HIV Transmission Rate 2008-2012, PCR Testing Results & Weighted Average Estimation PMTCT ความท้าทายของการขจัดการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกให้หมดไป หญิงคลอดต่อปี ~800,000 ราย – มี 2% ไม่มาฝากครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี มาคลอด 5,000 ราย ต่อ ปี 10% ไม่มาฝากครรภ์ 25% มาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ > 28 wks 15% ได้รับยา ARV ที่ไม่ใช่ HAART ครึ่งหนึ่งของหญิงคลอดติดเชื้อเอชไอวี มี CD4 < 350 cells/cu.mm 20-25% ของทารกที่คลอดจากแม่มีเชื้อเอชไอวี ไม่ได้รับ EID < 30% ของทารกที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับ ART ภายในอายุ 1 ปี ให้เห็นข้อมูลรวมด้านการฝากครรภ์ในไทย ว่ามีความครอบคลุมสูงแต่หญิงติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 10-15 ไม่มาฝากครรภ์ซึงสูงกว่ากลุ่มหญิงปกติ Department of Health, Thailand
Post-Exposure Prophylaxis (PEP) มีอะไรใหม่ ไม่ต้องประเมินระดับความเสี่ยงเพื่อพิจารณาว่าจะจ่ายยาต้านฯ กี่ตัว (ใช้ HAART) เลือกใช้สูตรยา PEP ที่สามารถทนได้ ปรับและเพิ่มรายการยาต้านไวรัสฯในบัญชียาหลัก ระยะเวลาในการติดตามสั้นลง (การตรวจ HIV 1 เดือน และ 3 เดือน) Postexposure prophylaxis 0 hr 36 hrs 72 hrs 1 mos 3 mos 5 mos HIV HIV infection
ประสิทธิภาพของวิธีการใหม่ๆในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี จากการศึกษาเปรียบเทียบจากทั่วโลก, 2011 100 20 40 60 80 Efficacy (%) Study Effect Size, % (95% CI) ART for prevention; HPTN 052, Africa, Asia, Americas PrEP for discordant couples; Partners PrEP, Uganda, Kenya PrEP for heterosexual men and women; TDF2, Botswana Medical male circumcision; Orange Farm, Rakai, Kisumu PrEP for MSMs; iPrEX, Americas, Thailand, South Africa Sexually transmitted diseases treatment; Mwanza, Tanzania Microbicide; CAPRISA 004, South Africa HIV vaccine; RV144, Thailand 96 (73-99) 73 (49-85) 63 (21-84) 54 (38-66) 44 (15-63) 42 (21-58) 39 (6-60) 31 (1-51) CI, confidence interval. Abdool Karim SS, et al. Lancet. 2011;[Epub ahead of print]. 11
Pre-Exposure Prophylaxis (PrEP) PrEP สามารถป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีได้ มีประสิทธิภาพแตกต่างกันขึ้นกับความเสี่ยงและ Adherence การใช้ PrEP ยังคงต้องใช้ร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ และการใช้เข็มและกระบอกฉีดยาใหม่ ต้องติดตามอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะการตรวจ anti-HIV ทั้งก่อนและขณะใช้ยา PrEP ยังมีความสำคัญมากในการป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยา จำเป็นต้องติดตามผลข้างเคียงระยะยาวของ TDF ที่มีผลต่อไต และกระดูก ความท้าทาย ทรัพยากรจำกัด ต้องการ Guideline ในระดับประเทศและสากล กำหนดกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง และหาวิธีการเข้าถึง การลดการตีตรา ระบบสุขภาพและบุคลากร Risk compensation ในกรณีที่ adherence ต่ำ Preexposure prophylaxis 0 hr 36 hrs 72 hrs 1 mos 3 mos 5 mos HIV HIV infection
Treatment as Prevention (1) ปัจจุบัน การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีทำได้เร็วขึ้นมาก ตั้งแต่ 2 - 4 สัปดาห์หลังสัมผัสเชื้อ วิธีตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี และ window period วิธีการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี จำนวนวันระหว่าง ติดเชื้อและผลเป็นบวก(window period) สิ่งที่ตรวจ พันธุกรรมไวรัส (แนท) 10-15 หาพันธุกรรมของไวรัส แอนติบอดีไวสูง (รุ่นที่ 4) 15-20 หาแอนติบอดีชนิดเอ็มและชนิดจีและชิ้นส่วนของไวรัสพี 24 แอนติบอดีไวปานกลาง (รุ่นที่ 3) 20-30 หาแอนติบอดีชนิดเอ็มและชนิดจี แอนติบอดีไวต่ำ (รุ่นที่ 2) 25-35 หาแอนติบอดีชนิดจี Simplified from Branson BM, JID 2012:205
Treatment as Prevention (2) การทราบว่าติดเชื้อเอชไอวีตั้งแต่เนิ่นๆ แล้วรีบรักษาด้วยยาต้านไวรัสโดยเร็ว มีประโยชน์ทั้งกับสุขภาพของผู้ติดเชื้อฯเอง และเพื่อการป้องกันการส่งต่อเชื้อไปยังคนอื่น ความท้าทายสำหรับการยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย คือ การทำให้คนมาตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีกันให้มากขึ้น ต้องตรวจเอชไอวีเพิ่มอีกอย่างน้อย 1,000,000 ครั้งต่อปี เพื่อให้ครอบคลุม 90% ของ key populations และการทำให้ทุกคนทั้งที่ติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อคงอยู่ในระบบการดูแลรักษาและป้องกัน ผู้ติดเชื้อชาวไทยประมาณ 50% มี CD4 count <100 cells/mm3 เมื่อเริ่ม ART ในช่วงปีพ.ศ. 2552-2556 อัตราการคงอยู่ในระบบของผู้ติดเชื้อชาวไทย: 87% ในผู้ที่ได้ ART อยู่ และเพียง 31% ในผู้ที่ไม่ได้เริ่ม ART มี MSM เพียง 60-65% ที่กลับมาตรวจเอชไอวีซ้ำภายใน 1 ปี
การรู้ผลเลือดของตัวเอง (ไปตรวจเอชไอวี) มากขึ้น เร็วขึ้น ถี่ขึ้น Treatment as Prevention (3) การรู้ผลเลือดของตัวเอง (ไปตรวจเอชไอวี) มากขึ้น เร็วขึ้น ถี่ขึ้น ต้องสร้างอุปสงค์ (demand) ของการตรวจเอดส์ ให้มองเห็นประโยชน์ของการตรวจแต่เนิ่นๆ ทั้งต่อตัวเอง ต่อครอบครัว และต่อสังคม ให้ถือเป็นหน้าที่พลเมืองที่จะต้องไปขอตรวจ เหมือนกับการตรวจสุขภาพประจำปี มีสื่อที่มีประสิทธิภาพในการชักชวนให้ไปตรวจเลือด ต้องสร้างอุปทาน (supply) ให้เพียงพอกับอุปสงค์ แพทย์ พยาบาลต้องมองเห็นประโยชน์ที่จะแนะนำคนไข้ทุกรายให้ตรวจเอดส์ การตรวจต้องฟรี ไม่ยุ่งยาก ยกเลิก pre-test counseling และการเซ็นยินยอม เด็กต่ำกว่า 18 ปีต้องสามารถตัดสินใจขอตรวจเองได้ สถานที่ต้องสะดวกและเป็นมิตร อยู่ใกล้ชุมชน บริการต้องรวดเร็ว รู้ผลภายใน 1 ชั่วโมง สามารถตรวจได้เองที่บ้าน เจ้าหน้าที่ต้องเพียงพอ โดยมีกระบวนการในการผ่องถ่ายภาระงานอย่างเป็นระบบ ผลต้องเชื่อถือได้ มีมาตราการในการรักษาความลับที่ดี และมีระบบส่งต่อไปสู่การรับการรักษาที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
AIDS Vaccine Efficacy Consortium-Thailand วัคซีน AIDS Vaccine Efficacy Consortium-Thailand ขณะนี้ยังอยู่ในระยะทดลอง Public Private Partnership Build vaccine manufacturing capacity in Thailand Concept: share investment burden Strategy Identify convergent interests “Win-Win” through dual use
การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี 2.2 การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ในกลุ่มประชากรเฉพาะ
การลดอันตรายจากการใช้ยา กลุ่มผู้ใช้ยา การลดอันตรายจากการใช้ยา ภาพฝัน ความเป็นจริง การได้รับเข็มและอุปกรณ์ฉีดยาใหม่ การมีศูนย์บริการที่ใกล้ชิดผู้ใช้ยา เกิดความครอบคลุมบริการเมทาโดนในพื้นที่ สังคมและเจ้าหน้าที่ให้บริการด้านสุขภาพ ไม่รังเกียจ ไม่ตีตรา ให้บริการเท่าเทียมเหมือนคนทั่วไป ภาครัฐยังไม่มีการสนับสนุน มีการแจกในภาคประชาสังคม ซึ่งยังไม่เพียงพอ มีศูนย์ให้บริการ แต่ยังไม่เพียงพอสำหรับกลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการยังมีการตีตราและเลือกปฏิบัติอยู่ สังคมยังระแวงในกลุ่มคนใช้ยา นโยบายผู้เสพ คือ ผู้ป่วย มีจริง แต่ยังไม่ถึงฝัน ประเด็นท้าทาย/ข้อเสนอแนะ กระทรวงสาธารณสุขต้องเสนอและผลักดันนโยบาย เพื่อลด HIV “ต้องทำเรื่องเข็มสะอาดให้เหมือนเรื่องถุงยางอนามัย” การเข้าถึงบริการเช่น จะทำอย่างไรให้เมทาโดนเข้าถึงง่ายในสถานบริการของรัฐ และให้เกิดความครอบคลุมของจุดบริการเมทาโดนในพื้นที่, ตั้ง Drop-in center ที่จุดบริเวณรวมผู้เสพ (ตั้งจุดเฉพาะ ) ต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติ มุมมอง ไม่ตีตรา เข้าใจและยอมรับผู้ใช้ยา ไม่มุ่งเป้ากำจัดออกจากสังคมแต่มุ่งให้ดำรงอยู่กับสิ่งเหล่านั้นให้ปลอดภัยหรือมีผลกระทบน้อยที่สุด และให้ผู้เป็นเจ้าของปัญหาร่วมคิดและแก้ไขปัญหาในพื้นที่ตนเอง
กลุ่มแรงงานข้ามชาติ ประเทศไทยถือว่ามีความก้าวหน้าในเชิงนโยบายเกี่ยวกับแรงงานต่างชาติ ที่ให้ความสำคัญในเรื่อง “การจัดการการย้ายถิ่นอย่างเหมาะสม” ไม่ใช่มองเป็นเรื่องของ ”การเข้าเมืองผิดกฎหมาย” แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ของประเทศไทยชัดเจนว่า เป็นการทำงานกับทุกคนที่อยู่บนผืนแผ่นดินไทย โดยการยุติปัญหาเอดส์ได้ ต้องให้ทุกคนรู้สถานะการติดเชื้อเร็ว เข้าสู่การรักษาเร็ว และดูแลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นมาตรการเดียวกันสำหรับทุกคน มาตรการสำคัญในการทำงานกับแรงงานข้ามชาติต้อง คือ การทำงานร่วมกันทั้งภาครัฐและภาคประชาสังคม และ อสต. เพื่อให้แรงงานข้ามชาติได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการมากขึ้น ต้องมีทรัพยากร งบประมาณที่จะดำเนินการอย่างชัดเจน “แสงสว่างที่ชัดเจน” คือ (ไม่หวังพึ่งเงินนอก) ซึ่งระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย (ทั้งประกันสังคมและบัตรประกันสุขภาพ) น่าจะช่วยตอบโจทย์นี้ได้ แต่ตอนนี้อาจจะยังมีปัญหาอยู่หลายเรื่องโดยเฉพาะในทางปฏิบัติ
โครงการนำร่อง Test and Treat ใน MSM/TG ในประเทศไทย โครงการโดยความร่วมมือของ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย สถานที่วิจัย คลีนิคนิรนาม สภากาชาดไทย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองท่าวังหิน และรพ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี รพ.ลำปาง จ.ลำปาง รพ.มหาสารคาม จ.มหาสารคาม Mahasarakham (n=50) Ubonratchatani (n=200) Bangkok (n=450) Lampang (n=100)
มาตรการหลักที่ใช้ คือ Recruit-Test-Treat-Retain Cascade กลุ่ม MSM & TG (2) RECRUIT วิธีการ outreach แบบดั้งเดิม วิธีการ outreach แบบออนไลน์ และวิธีใหม่อื่นๆ TEST ตรวจเอชไอวีแบบ Same-Day Result ตรวจเอชไอวีในชุมชน/โดยชุมชน ตรวจเอชไอวีในสถานพยาบาล TREAT การเชื่อมโยงสู่บริการ ART หน่วยบริการ ART ในชุมชน/โดยชุมชน หน่วยบริการ ART ในสถานพยาบาล RETAIN การสื่อสารกันอย่างสม่ำเสมอกับกลุ่มเป้าหมาย การส่งเสริม Adherence/ART ทั้งผู้ติดเชื้อ และผู้ไม่ติดเชื้อ มาตรการหลักที่ใช้ คือ Recruit-Test-Treat-Retain Cascade ต้องตรวจเอชไอวีเพิ่มอีกอย่างน้อย 1,000,000 ครั้งต่อปี เพื่อให้ครอบคลุม 90% ของ key populations ผู้ติดเชื้อชาวไทยประมาณ 50% มี CD4 count <100 cells/mm3 เมื่อเริ่ม ART ในช่วงปีพ.ศ. 2552-2556 อัตราการคงอยู่ในระบบของผู้ติดเชื้อชาวไทย: 87% ในผู้ที่ได้ ART อยู่ และเพียง 31% ในผู้ที่ไม่ได้เริ่ม ART มี MSM เพียง 60-65% ที่กลับมาตรวจเอชไอวีซ้ำภายใน 1 ปี
กลุ่ม MSM & TG (3) รูปแบบการให้บริการ (บทคัดย่อ) ในกลุ่ม MSM ทำ target mapping โดยหาตัวแม่ จุดที่รวมตัว และช่วงเวลา จำนวน MSM รู้บริบท / พฤติกรรมของกลุ่ม เช่น หาผู้ชายที่ไหน กิจกรรมทำซ้ำในพื้นที่เดิม ผู้ที่เคยได้รับการตรวจแล้ว กลับมาตรวจซ้ำ มีประมาณ 2 % การไม่มารับยาต้านไวรัส เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องการย้ายสิทธิ์ มี 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย (1) การให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การให้บริการเชิงรุก โดยแกนนำ (2) การทำกิจกรรมกลุ่มก่อนตรวจและระหว่างรอผลตรวจ (3) การให้การปรึกษาและตรวจเอชไอวีแบบรู้ผลภายในวันเดียว (4) การให้บริการทางจิตและสังคมจากกลุ่มเพื่อนผู้อยู่ร่วมกับเชื้อ (5) การส่งต่อผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
รูปแบบการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ดำเนินการในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย ได้แก่ การซักประวัติผู้มารับบริการเพื่อ หาพฤติกรรมเสี่ยง ตรวจร่างกายในทุกช่องทางที่มีเพศสัมพันธ์ (แม้ไม่มีอาการหากมีพฤติกรรมเสี่ยงก็ควรได้รับการตรวจ เพราะสามารถพบโรคได้) ตรวจเลือดเพื่อค้นหาโรคซิฟิลิส เอช ไอ วี และไวรัสตับอักเสบ ตรวจ Anal Pap smear หลังการบรรยายมีการสาธิตการตรวจ Anal Pap smear และการตรวจหาเชื้อด้วยวิธีการต่างๆ ทางห้องปฏิบัติการทางจุลชีวะวิทยา (Microscopic Examination)
(ข้อมูลบริการและสำรวจ) กลุ่มเยาวชน สถานการณ์วัยรุ่น 90% ติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ 50% ของการติดเชื้อใหม่ เกิดในกลุ่มที่มีอายุต่ำกว่า 25 ปี การเรียนรู้เรื่องเพศยังไม่มีครอบคลุมทุกสถานศึกษา คำถาม UNGASS 5 ข้อ ตอบถูกเพียง 1 ใน 4 (25%) พฤติกรรมเสี่ยงใน MSM ประมาณ 40% การทำงานเยาวชนต้องทำแบบบูรณาการ มาตรการ / ปัจจัยความสำเร็จ พฤติกรรมเสี่ยง (สำรวจ BSS) ผลลัพธ์ทางสุขภาพ (ข้อมูลบริการและสำรวจ) 1.กฎหมาย: บุหรี่ แอลกอฮอล์ 2.โรงเรียน: ทักษะชีวิต-เพศศึกษา / คัดกรองช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยง 3.โรงพยาบาล: บริการเป็นมิตร การคุมกำเนิดในแม่วัยรุ่น 4.ชุมชน: พื้นที่เยาวชน / บริการเชิงรุก / โรงเรียนพ่อแม่ 5.บูรณาการ: DHS เพศสัมพันธ์ สารเสพติด การบาดเจ็บ สุขภาพจิตและการปรับตัว การเข้าถึงและใช้บริการ ตั้งครรภ์ ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด ติดเชื้อ HIV /STI อุบัติเหตุ ฆ่าตัวตาย ติดเกมส์ ความรุนแรง
การป้องกันและดูแลรักษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 3. การป้องกันและดูแลรักษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การวินิจฉัย รักษา และดูแลผู้ติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตามมาตรฐานกรมควบคุมโรค ประกอบด้วย 1. คลินิกบริการ (Clinical services) - การค้นหาผู้ป่วย (case finding) - การวินิจฉัยโรคและการรักษา (diagnosis and treatment of cases) - การติดตามการรักษา (case follow-up) 2. การติดตามผู้สัมผัสโรค (Contact tracing and partner notification) 3. การควบคุมสถานบริการ (Control sources of infections) 4. การให้สุขศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Health education and information to promote health seeking behavior) 5. การส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย (Condom promotion)
การซักประวัติ เป็นการซักประวัติพฤติกรรมเสี่ยง มีความสำคัญมาก เพราะทำให้ทราบว่าผู้ป่วย มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศ สัมพันธ์หรือไม่ โดยไม่ต้องรอมีอาการป่วย ประเด็นในการซักประวัติ ได้แก่ : มีเพศสัมพันธ์กับผู้ให้บริการทางเพศ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย มีคู่เพศสัมพันธ์มากกว่า 1 คน ( โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย ) เพิ่งมีการเปลี่ยนคู่เพศสัมพันธ์คนใหม่ ( โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย) มีคู่เพศสัมพันธ์ที่ป่วยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีประวัติการป่วย/ติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในรอบปีที่ผ่านมา
มาตรการควบคุมโรคติดต่อเพศสัมพันธ์ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ HIV ประโยชน์ในการป้องกันเอดส์ 1. การให้บริการตรวจรักษาที่เป็นมิตรและเข้าถึงได้ง่าย เป็นช่องทางสำหรับผู้เสี่ยงต่อเอดส์ทางเพศสัมพันธ์ได้เข้า รับบริการ ทำให้มีโอกาสสอบประวัติและได้ข้อมูลเกี่ยวกับ พฤติกรรมเสี่ยง และข้อมูลเกี่ยวกับสถานบริการ 2. การให้บริการปรึกษาแนะแนวแก่ผู้รับการตรวจรักษา ทั้งที่พบป่วยและไม่ป่วยเป็นกามโรค เป็นการเพิ่มโอกาสในการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโรคเอดส์ เพื่อการรับรู้ถึงความเสี่ยง การรับบริการตรวจเอดส์และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. การควบคุมสถานบริการ ช่วยให้ทราบถึงสภาวะความเสี่ยงของการรับและถ่ายทอด เชื้อในชุมชน และทำให้ได้ข้อมูลของกลุ่มบุคคลที่มี พฤติกรรมเสี่ยง 4. การดำเนินมาตรการเชิงโครงสร้าง เป็นประโยชน์ทางตรง ถุงยางอนามัย 100% ยุทธศาสตร์ถุงยางอนามัยแห่งชาติ 2558-2562 5. การส่งเสริมสนับสนุนการใช้ถุงยางอนามัยในทุกรูปแบบ -การกระจายถุงยางอนามัยสำหรับกลุ่มเสี่ยง เป็นมาตรการส่งเสริมให้ประชาชนมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย -กระตุ้นให้ท้องถิ่นเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมมากขึ้น 6. การเฝ้าระวัง ควบคุมกำกับ ติดตาม และรายงานโรค เป็นประโยชน์ทางอ้อม ให้ทราบถึงความเสี่ยงในชุมชน และประเมินความสำเร็จของมาตรการควบคุมโรค
สามารถดาวน์โหลด Power point สรุปรายงานการสัมมนาฯ ได้ที่ aidssti.ddc.moph.go.th