งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ) สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ) สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ) สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 พฤษภาคม 2557

2

3 Thailand HIV/AIDS Situations
HIV prevalence (2013) Condom use at last sex (2012) ANC 0.43% ↔ Military conscripts 0.5% ↔ FSW 2.2% (2012) ↔ MSM 7.1% (2012) ↑ MSW 12.2% (2012) ↑ PWID 25.2% (2012) ↑ Migrant % (2012) ↔ FSW 93.6% ↔ MSM 85.5% ↑ PWID 49.1% ↑ ม.5/อาชีวะ 72-73% ↑ VCT and knowing status (2012) Status of epidemics ANC represents a prevalence of HIV in women. Military conscripts represents a prevalence of HIV in men. FSW 55.6% ↑ MSM 25.6% ↑ MSW 52.4% ↑ PWID 43.6% ↑ Needle and Syringe exchange PWID 78% (2010) %(2012) Source: IBBS and Sentinel surveillance in 2013 Thailand AIDS Response Report

4 อัตราการติดเชื้อในกลุ่มประชากรเฝ้าระวัง
ที่มา: รายงานผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี ส.ระบาดวิทยา

5

6

7

8 อัตราป่วย STI รวม 5 โรค จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2547-2556
year Total age <15 15-24 25-34 35-44 45-54 55-64 65+ 2547 29.29 3.71 48.40 47.35 39.38 27.24 14.43 10.48 2548 24.78 3.25 43.92 36.82 33.55 23.44 13.31 10.09 2549 23.73 3.44 49.21 34.03 29.60 19.06 11.67 10.64 2550 21.09 3.55 46.23 29.86 24.23 16.58 10.26 10.25 2551 19.32 3.84 47.21 25.69 20.80 13.79 8.95 8.56 2552 21.62 4.74 54.27 29.19 21.41 15.47 9.98 9.85 2553 20.44 5.00 55.41 26.63 18.21 13.76 8.63 9.78 2554 21.86 4.91 58.73 29.12 20.03 14.89 9.50 10.42 2555 20.23 5.69 54.91 27.51 17.07 12.69 8.91 10.14 2556 18.49 5.02 51.58 23.86 14.30 12.13 9.23 10.17 ที่มา: รายงานการเฝ้าระวังโรค (รง.506) ส.ระบาดวิทยา

9 อัตราป่วย STI รวม 5 โรค จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2547-2556
ที่มา: รายงานการเฝ้าระวังโรค (รง.506) ส.ระบาดวิทยา

10 อัตราป่วย STI รวม 5 โรค จำแนกตามโรค ปี 2547-2556
ที่มา: รายงานการเฝ้าระวังโรค (รง.506) ส.ระบาดวิทยา

11 การคาดประมาณสถานการณ์จำนวนผู้ติดเชื้อใหม่ ผู้เสียชีวิต และผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี

12 การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่
ที่มา: Summary Result Projection for HIV/AIDS in Thailand, BOE. DDC. MOPH.

13 ภาพรวมสถานการณ์การระบาดเอชไอวี
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทยลดลงแต่ความชุกของการ ติดเชื้อเอชไอวีในประชากรหลักยังอยู่ในระดับสูงและลดลงไม่ เป็นไปตามเป้าหมาย แนวโน้มการติดเชื้อเอชไอวีในประชากรทั่วไปคงที่ แต่พบ อุบัติการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีแนวโน้มสูงขึ้นโดยเฉพาะ เยาวชน ความครอบคลุมการเข้าถึงบริการและพฤติกรรมปลอดภัยเพิ่มขึ้น (การใช้ถุงยางอนามัย, VCT, NSEP, MMT)

14 รายงานผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ลงทะเบียนในฐานข้อมูล NAP-Plus ณ 30 กันยายน 2556
รายงานผู้ติดเชื้อลงทะเบียนรับบริการสะสม 388,833 คน ยังมีชีวิตและมารับบริการ 256,391 คน แบ่งเป็น - รับยาต้านไวรัส 227,451 คน (ผู้ใหญ่ 222,361 คน เด็ก 5,090 คน) - ไม่ได้รับยาต้าน 28,940 คน (ผู้ใหญ่ 28,475 คน เด็ก 465 คน) เป็นผู้รับบริการสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 74% ของทั้งหมด (รับยาต้าน 175,559 คน และไม่ได้รับยาต้าน 13,806 คน) ที่มาข้อมูล: ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ , สรุปข้อมูล ณ 31 ธค 56

15 80% Coverage of ART need (CD4<350)
ART Coverage among Persons Living with HIV Number of PLHA Receiving ART ( ) Estimated persons living with HIV by CD4 levels 80% Coverage of ART need (CD4<350) PLHA-CD4 ≤ 500 246,049 PLHA-≤ 350 Source: AIDS Epidemic Model (AEM), NHSO – NAP-Plus, SSO, CSMBS, GF, and Thai GPO 15

16 จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ยังมีชีวิตและมารับบริการ (ทุกสิทธิ) แบ่งตามเขตสคร. ณ 30 กันยายน 2556
ที่มาข้อมูล: ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (

17 ร้อยละของผู้ที่ยังรับยาต้านไวรัสและมี VL<50 copies/ml (เฉพาะสิทธิUC) แบ่งตามเขตสคร. ณ 30 กันยายน 2556 ภาพรวมประเทศ 73% ที่มาข้อมูล: ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (

18 อัตราเสียชีวิต (เฉพาะสิทธิUC) แบ่งตามเขตสคร. พ.ศ. 2556
อัตราเสียชีวิตในผู้ที่ยังไม่ได้รับยา (%) อัตราเสียชีวิตในผู้รับยาในช่วง 1 ปีแรกหลังเริ่มยา (%) 1 11.5 7.4 2 15.7 9.4 3 15.1 4 13.7 7.8 5 18.4 9.2 6 14.2 10.3 7 15.4 8 16.4 8.9 9 14.5 6.7 10 9.8 8.5 11 12.8 12 14.3 ภาพรวมประเทศ 13.8 แนวโน้มไม่ลดลง

19 สัดส่วนของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ผู้ใหญ่ที่มี CD4<100cells/cu.mm ณ เริ่มรับยาต้านไวรัส (เฉพาะสิทธิUC) แบ่งตามเขตสคร. พ.ศ % ภาพรวมประเทศ 47% ที่มาข้อมูล: ระบบบริการข้อมูลสารสนเทศ การให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (

20 อัตราการรักษาล้มเหลว (VL>1,000 copies/ml) ที่ 1 ปีแรกหลังเริ่มยา (เฉพาะสิทธิUC) ปี 2556
สคร. อัตราการรักษาล้มเหลว (%) ในผู้ใหญ่ อัตราการรักษาล้มเหลว (%) ในเด็ก %ของ รพ. ที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย (0%) 1 8.3 24.3 ~35 2 9.3 33.3 ~50 3 7.1 23.8 < 50 4 7.5 4.2 <40 5 6.6 26.9 <60 6 6.7 12.8 ~49 7 6.9 22.2 ~61 8 8.1 11.1 9 8.8 <50 10 5.9 29 ~46 11 12.5 ~ 60 12 7.8 25 ~ 80 ประเทศ 7.2 20.0 แนวโน้มไม่ลดลง

21 สรุปปัญหา ผู้ติดเชื้อฯที่ยังไม่ได้เริ่มกินยายังคงมารับบริการอยู่ในระบบในสัดส่วนที่ต่ำ ยังคงมีผู้ติดเชื้อฯที่มารับบริการที่เข้าเกณฑ์รับยา แต่ยังไม่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส อัตราเสียชีวิตขณะยังมารับบริการสูงมากและไม่ลดลง ในผู้ที่ไม่ได้รับยา และผู้รับยาในช่วง 1 ปีแรกหลังเริ่มยา การเข้าถึงระบบบริการรักษาช้า ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต แนวโน้มอัตราการรักษาล้มเหลวที่ 1 ปีแรกหลังเริ่มยาไม่ลดลง แนวโน้มอัตราขาดการติดตามการรักษารายใหม่ต่อปีเพิ่มขึ้น แนวโน้มการเปลี่ยนสูตรยาจากสาเหตุดื้อยาใน 1 ปีแรกหลังเริ่มยา เพิ่มขึ้น

22 ข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านการดูแลรักษา
ส่งเสริมให้ผู้ติดเชื้อฯ ได้รับการวินิจฉัยและเข้าสู่การรักษาแต่เนิ่นๆ ที่ภูมิต้านทานยังไม่ต่ำ สร้างความเข้มแข็งระบบบริการ และเพิ่มศักยภาพบุคลากร และแกนนำผู้ติดเชื้อฯ ในการพัฒนาและปรับปรุงแนวทางให้บริการให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้น ติดตามผลการดำเนินงานจากระบบข้อมูลที่มีอยู่ และค้นหาสาเหตุ เพื่อใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพระบบบริการ

23 ความครอบคลุมการส่งตรวจ
ผลการวัดความครอบคลุมของการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัสของโรงพยาบาลด้วย HIVQUAL-T ความครอบคลุมการส่งตรวจ การได้รับยาต้าน และยาป้องกัน การคัดกรองโรค ที่มา: รายงานผลการพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ผู้ใหญ่และเด็กในประเทศไทย (HIVQUAL-T)

24 ข้อสรุปจากการพัฒนามาตรฐานการดูแลรักษา
มาตรฐานการดูแลรักษามีการพัฒนาดีขึ้นอย่างชัดเจน เช่น การคัดกรองด้านต่างๆ ทั้งวัณโรค มะเร็งปากมดลูก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การติดตามการรักษา เช่น ความครอบคลุมการตรวจ CD4 และ Viral load การให้ยา ARV ตามเกณฑ์ และการให้ยาป้องกันปอดอักเสบ รพ.ที่เข้าร่วมโครงการมีผลการดำเนินงานดูแลรักษา โดยเฉพาะการลดอัตราการขาดนัด และความครอบคลุมการส่งตรวจ Viral load ดีกว่า รพ.ที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ

25 PROGRAM RESPONSES การรณรงค์ประชาสัมพันธ์
เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง การสนับสนุนและจัดชุดบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV และSTIs จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผลิตสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จัดตั้งศูนย์ข้อมูลอ้างอิงทางวิชาการด้านโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การปรับภาพลักษณ์และส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย การส่งเสริมการตรวจหาการติดเชื้อ การทำงานเชิงรุกเพื่อเข้าถึงกลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบ การสนับสนุนถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น การสนับสนุนโครงการแลกเปลี่ยนเช็มและกระบอกฉีดยาที่สะอาด การขับเคลื่อนงานด้านการป้องกันเอดส์ในสถานศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมบริการที่เป็นมิตร

26 PROGRAM RESPONSES การพัฒนาแนวทางระดับชาติด้านการป้องกันและดูแลรักษา
การสนับสนุนการดูแลรักษาโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีสำหรับ MSM&TG, FSW แนวทางการป้องกัน และรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการดำเนินงานป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและลดอันตรายในกลุ่มผู้ใช้ยาชนิดฉีดสำหรับบุคลากรสุขภาพ แนวปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในเรือนจำ การพัฒนาแนวทางการกำจัดโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด การพัฒนาคุณภาพบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การพัฒนาบริการให้คำปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี การพัฒนาระบบการรักษาเชิงรุกในทารกแรกเกิด การติดตามการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสและการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสในประเทศไทย การเฝ้าระวังเชื้อหนองในดื้อยา บูรณาการทำงาน TB/HIV


ดาวน์โหลด ppt การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ) สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google