นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
1 การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 5/2559 วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
บทบาทหน้าที่สำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
วาระที่ 4.2 พิจารณาเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 13 ตุลาคม 2559
การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ทิศทางการดำเนินงานของศูนย์อนามัยที่ 6
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
Cluster วัยเรียน ปีงบประมาณ 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ 22 มิถุนายน 2560

แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) วิสัยทัศน์กรมฯ “กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี” มิติที่ 1 ประชาชน  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริม พฤติกรรม อนามัยการเจริญ พันธุ์ที่เหมาะสม สำหรับวัยรุ่น   1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริม ผู้สูงอายุไทย เพื่อเป็นหลัก ชัยของสังคม เป้าประสงค์ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เป้าประสงค์ : เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ   เป้าประสงค์ : วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม เป้าประสงค์ : ประชากรวัยทำงาน หุ่นดี สุขภาพดี เป้าประสงค์ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป้าประสงค์ : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) เป้าประสงค์ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เป้าประสงค์ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงสมส่วน มิติที่ 2 คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ : ภาคีเครือข่ายภาครัฐร่วมดำเนินการ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปดำเนินการและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล มิติที่ 3 กระบวนการภายใน เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HPO) มิติที่ 4 การเติบโตนวัตกรรมและศักยภาพ เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล

ที่มา: เล่ม แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 -2564) กองแผนงาน

ภาพแสดงกระบวนงานหลักของกรมอนามัยในภาพรวม ที่มา: เล่ม รวมพลัง เปลี่ยนกรมอนามัย DoH Change รวมพลัง เปลี่ยนกรมอนามัย DoH 4.0 องค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม สำนักงานบริหารการเปลี่ยนแปลง กรมอนามัย

กระบวนงานหลักกรมอนามัย (Core Business Process) ชุดโครงการวิจัยขนาดใหญ่ 3. National Policy & strategy 2. E-distribution 4. ชุดโครงการวิจัยขนาดใหญ่ 5. Job Rotation Job Assignment 1. 100 ตำบล ที่มา: เล่ม รวมพลัง เปลี่ยนกรมอนามัย DoH Change รวมพลัง เปลี่ยนกรมอนามัย DoH 4.0 องค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม สำนักงานบริหารการเปลี่ยนแปลง กรมอนามัย

ระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม คนไทยมีสุขภาพดีตลอดช่วงชีวิตอย่างน้อยจนถึงอายุ 72 ปี (HALE) และอายุคาดเฉลี่ย 80 ปี (Life Expectancy:LE) ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Citizen , Community, Healthy City) A2 I M = 3G+3P+P3Env(LCA)+PIRAB(National/Region/Local) การประเมินสถานการณ์ การชี้นำ มาตรการ การบริหารจัดการและธรรมาภิบาล (ติดตามประเมินและสนับสนุน) - การชี้นำ สร้างกระแส ชักชวน ให้เห็นความสำคัญ การกำหนดนโยบายเพื่อความร่วมมือในการลงทุนด้านสุขภาพและจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณร่วมกัน กำหนดนโยบาย - กำหนดเป้าหมายอนาคตของเส้นทางชีวิตและสุขภาพ 5 กลุ่มวัย (Life course approach) - พัฒนาและผลิต High Touch & High Technology เพื่อการส่งเสริมสุขภาพโดยมีเป้าหมาย คือ - กลุ่มปกติ ให้มีศักยภาพดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้องสูงสุด - กลุ่มเสี่ยง กำจัดหรือลดความเสี่ยงปัจจัยต่างๆที่ส่งต่อสุขภาพ - กลุ่มป่วย ฟื้นฟูสภาพให้กลับมาปกติหรือคงสภาพให้ใกล้เคียงกับกลุ่มปกติ - กำหนดคุณสมบัติ บรรทัดฐาน, มาตรฐาน ของการมีสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี ในระดับบุคคลหรือพื้นที่ เช่น อำเภอ, จังหวัด การส่งเสริมสุขภาพ ระดับประเทศ/กระทรวง ระดับเขต/จังหวัด/ อำเภอ ระดับท้องถิ่น/ชุมชน การติดตาม กำกับ A I สถานการณ์สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม - ข้อมูลจาก ระบบ การรายงาน เฝ้าระวัง* เวชระเบียน / วิจัย ฯลฯ Model Development Health &En.H. Provincial Profile Healthy Settings Health& Env.H.City Profile เครือข่าย ระดับนโยบาย EHA ระบบประเมินรับรอง Health Promotion & Env. R R การวินิจฉัยสถานการณ์ Policy+ Law Regulation P หุ้นส่วนภาคีเครือข่าย วิเคราะห์แบ่งสถานการณ์ประชากร 3 กลุ่ม การป้องกัน กระทรวงสาธารณสุข - ขับเคลื่อน ค้นหาและแก้ปัญหาด้านสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน ทุกภาคส่วน - การกำจัดหรือลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ - การเสริมพลังบุคคลหรือชุมชน - สร้างพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่เหมาะสม - กำหนดกรอบมาตรฐานหรือคุณลักษณะ ของ Healthy people และ Healthy City กลุ่มที่ 1 เขตสุขภาพ/ศอ. อสธจ. ปกติ อปท. กลุ่มที่ 2 เสี่ยงเจ็บป่วย สสส. สช. คร. สปสช. สบส. ตำบลบูรณาการ กลุ่มที่ 3 เจ็บป่วย ประชาชน/กลุ่มประชากร การปกป้องคุ้มครอง B *เฝ้าระวัง 6 Cluster (5 กลุ่มวัย + อนามัยสิ่งแวดล้อม) 5 มิติ (Risk factor, Protective factor, Promoting intervention, Health outcome, Life impact) 36 ตัวชี้วัด เช่น มารดาตาย, พัฒนาการสมวัย, สูงดีสมส่วน, คลอดซ้ำในวัยรุ่น, BMI ปกติ, พฤติกรรมที่เหมาะสม, การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ฯลฯ สร้างความเข้าใจ และเสริมพลังให้ประชาชนมีความรู้และเท่าทันต่อสถานการณ์สุขภาพ -ชี้นำและผลักดันให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพ / วิถีชีวิตที่เหมาะสม - การประกันคุณภาพการบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม - การยกระดับการเข้าถึงบริการ - การออกกฎหมายและการบังคับใช้ รพ.สต. อสม./ แกนนำ ชุมชน DOH (Env.H Cluster + 5 กลุ่มวัย Cluster) Strategy Technical Support โดยการ Regulate สสจ. DHS สสอ./ รพช. อนามัยสิ่งแวดล้อม Regulate Support/ Support/ Regulate - สร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนในการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี เช่น ด้านกายภาพ สังคม จิตวิทยา และเศรษฐกิจ ภาคีเครือข่ายระดับเขต/จังหวัด ภาคีเครือข่ายระดับท้องถิ่น/ชุมชน *PIRAB 1. Partner 4. Advocate 2. Invest 5. Build Capacity 3. Regulate Version Thai.181159

Assessment : ประเมิน Advocacy : เป็นปากเป็นเสียง 1. สังเคราะห์ใช้ความรู้ 2. ดูภาพรวม Management:บริหาร/อภิบาล Advocacy : เป็นปากเป็นเสียง อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. กำหนดนโยบาย 6. กำกับดูแลเพื่อให้เกิดการดำเนินการ 4. ออกแบบระบบและกระบวนการส่งเสริมสุขภาพฯ Intervention : ปฏิบัติการ 5. ประสานความร่วมมือ โดย...นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย

Thank you