การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยด้านสุขภาพในกลุ่มวัยเด็กและผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
Performance Agreement : PA ปี 2560
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยด้านสุขภาพในกลุ่มวัยเด็กและผู้สูงอายุ Promotion Prevention & Protection Excellence แผนงานที่ 1 เป้าหมาย เมืองศูนย์กลางของประเทศ เป็นเมืองน่าอยู่ของทุกกลุ่มในสังคมเพิ่มขึ้น KPI เด็ก 1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ≥ 85 (ภายในปี 64) 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ≥ 51 และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี (เด็กชาย 113 เซนติเมตร และเด็กหญิง 112 เซนติเมตร) ผู้สูงอายุ 1.ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ 2.ร้อยละของ Healthy Ageing (ผู้สูงอายุสุขภาพดี) เด็ก ผู้สูงอายุ สถานการณ์ ภาคกลางมีกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น 325,986 คน ได้รับการคัดกรอง 69.94 % ของกลุ่มเป้าหมาย มีพัฒนาการสมวัย 95.37% สงสัยล่าช้า 11.72 % และติดตามกระตุ้นได้ 64.41% 1.ข้อมูลสัดส่วนผู้สูงอายุ 3.Pre aging กลุ่มอายุ 55-59 ปี 2.ประเภทผู้สูงอายุ(4 กลุ่ม) 4.อปท ร่วมดำเนินงาน LTC 5.ฐานข้อมูล CM/CG/CP /ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์/มาตรการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ระบบข้อมูล ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การป้องกันและรักษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 Partners การสร้างภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 Invest การลงทุนเพื่อสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 Regulation การออกกฎหมายที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ยุทธศาสตร์ที่ 4 Advocacy การสร้างความรู้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้ ยุทธศาสตร์ที่ 5 Building capacity การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กิจกรรมหลัก วิเคราะห์ ติดตามข้อมูลจาก HDC 2. จัดทำระบบข้อมูลการรับส่งต่อเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า 1. สร้างความตระหนักรู้ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการ ใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 2. ส่งเสริมพัฒนาการด้วยกิจกรรมกิน กอด เล่น เล่า เฝ้าดูช่องปาก นอน (Heart ดี มีวินัย) 3. สร้างการมีส่วนร่วมภาคีภาครัฐ เอกชน ชุมชน กระตุ้นการใฝ่เรียนรู้ของเด็กด้วยการอ่าน เล่านิทาน การเล่น ศิลปะ ดนตรี และฝึกภาษาที่ 2 ในศูนย์เด็กเล็ก และ รร.อนุบาล (Head ใฝ่เรียนรู้) 4. ส่งเสริมการเข้าถึงสื่อสาธารณะ ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น SMS , E-book , Application เป็นต้น 1. มีการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ 2. ระบบการส่งต่อเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าเชื่อมโยงทุกระดับจนถึงชุมชน 3. ติดตามประเมินเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าภายใน 1 เดือน 4. มีการตรวจประเมินและรักษาการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ และเครือข่าย จนถึงชุมชน 2. Coaching ด้วยระบบการติดตามและส่งเสริมมาตรฐานการคัดกรองและการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 3. สนับสนุนเครื่องมือและอุปกรณ์ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 4. ประสานความร่วมมือภาครัฐ เอกชน ชุมชน สนับสนุนงานพัฒนาการเด็ก 1.สร้างความร่วมมือภาคีเครือข่ายในการจัดการปัญหาสุขภาพ Strong : สธ ,อปท Social : พม ,อปท Security : อปท ,พม 1.ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 2.ศูนย์ดูแลต่อเนื่อง (COC : Continuing of care) 3.คลินิกผู้สูงอายุ รพศ/รพท ทุกแห่ง (แพทย์เวชศาสตร์/ผู้สูงอายุ/อายุรกรรม /พยาบาล เฉพาะทางผู้สูงอายุ) 4.การเตรียมความพร้อม Pre-Aging (อายุ 55-59 ปี) 5.Intermediate care Ward (รพศ./รพท) Intermediate care bed (รพช. 1-3 เตียง) 6. อารยสถาปัตย์ของสถานบริการสาธารณสุข (ทางลาด/ห้องน้ำ/ราวจับ/ที่จอดรถผู้พิการ ผู้สูงอายุ) 7.การปรับปรุงบ้านที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 1.การใช้ พรบ.ผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2546 2.ส่งเสริม บทบาท อปท. ตาม พรบ.ผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 3.หน่วยบริการสาธารณสุข มีการจัดบริการให้ตามสิทธิ สะดวก รวดเร็ว 1.ส่งเสริมบทบาทของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 2.บันทึกความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (MOU) เช่น สธ, อปท, พม, ภาคประชาชนฯ 3.ส่งเสริม Health Literacy 4.สร้างความตระหนัก การส่งเสริมสุขภาพ ลด ละเลิกพฤติกรรมเสี่ยง (3อ. 2ส.) 5.การดูแลผู้สูงอายุ ภายใต้แนวคิด “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากร CM,CG.FCT , อสม, อสค ตลอดจนแพทย์เฉพาะทางผู้สูงอายุ ,พยาบาลเฉพาะทางผู้สูงอายุ 2.ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการปฏิบัติและประสบการณ์จริง 3.การจัดการความรู้ การค้นหา Best Practice และ Model การพัฒนาการดำเนินงาน กิจกรรมสนับสนุน 1. ประสานความร่วมมือเพื่อพัฒนารูปแบบโรงเรียนพ่อแม่ , ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2. การมีสื่อสาธารณะในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น SMS , E-book , Application เป็นต้น ระดับความ สำเร็จ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ประสานงานการดำเนินงานร่วมกับ 4 กระทรวงหลัก ส่งเสริมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ประกาศ code milk พัฒนาบุคลากร อบรมหลักสูตร PG เด็ก ใช้ข้อมูลจาก HDC ในการกำกับติดตามการดำเนินงานและวิเคราะห์วางแผนอย่างมีประสิทธิภาพ 1. สร้างความตระหนักรู้ (Health Literacy) ให้กับพ่อแม่/ผปค. ในชุมชนและ ศพด. 2. โรงเรียนพ่อแม่ เน้นการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก การเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กไทย 4.0 (4 H : health, head, hand, heart) 3. สุ่มประเมินมาตรฐาน (Standardization) เด็กอายุ 42 เดือน 5.ประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างพลังเครือข่ายสร้างเด็กปฐมวัย 4.0 4. Coaching เสริมพลังในพื้นที่ 1. ประชุมติดตามความก้าวหน้าขับเคลื่อนพัฒนาการระดับเขต 1 ครั้ง 2 เด็กปฐมวัย (4 กลุ่มอายุ)ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 70 3. เด็กปฐมวัยที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม 1 เดือน ร้อยละ 80 4. เด็กพัฒนาการไม่สมวัย ได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาฟื้นฟูตามระบบ ร้อยละ 90 5. เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 75 6. เด็กปฐมวัยสูงดีสมส่วน ร้อยละ 50 1. พยาบาลเข้ารับการอบรมหลักสูตร PG เด็ก จำนวน 3 คน 2. เด็กปฐมวัย (4 กลุ่มอายุ)ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 80 3. เด็กปฐมวัยที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม 1 เดือน ร้อยละ100 4. พัฒนาการไม่สมวัย ได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาฟื้นฟูตามระบบ ร้อยละ 100 5.เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 6. เด็กปฐมวัยสูงดีสมส่วน ร้อยละ 51 1.การสำรวจ บันทึกข้อมูลพื้นฐานผู้สูงอายุ 4 กลุ่ม และPre aging 2.บันทึกข้อตกลงของส่วนราชการและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 3.จัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุ (คน/งบประมาณ/งบลงทุน) 4.จัดตั้งศูนย์ COC 5.จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 1.พัฒนาศักยภาพบุคลากร CM,CG.FCT , อสม, อสค ,แพทย์เฉพาะทางผู้สูงอายุ ,พยาบาลเฉพาะทางผู้สูงอายุ 2.มีการจัดทำ Care Plan ร้อยละ 100 3.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลตาม Care Plan ร้อยละ30 4.มีคลินิกผู้สูงอายุใน รพศ/รพท ร้อยละ 50 5.มีการดำเนินการตามแผนการดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ 30 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลตาม Care Plan ร้อยละ60 2.อปท.มีนโยบายสาธารณะด้านการดูแลผู้สูงอายุ 3.มีคลินิกผู้สูงอายุใน รพศ/รพท ร้อยละ 75 4.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลตาม Care Plan ร้อยละ 60 5.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพที่ดีขึ้น ร้อยละ 10 (ประเมิน ADl) 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแล Care Plan ร้อยละ 90 2.มีคลินิกผู้สูงอายุ ใน รพศ/รพท ร้อยละ 90 3.กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแล Care Plan ร้อยละ 90 4.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีขึ้น ร้อยละ 20 (ประเมิน ADL) 5.มีผลงาน Best Practice อย่างน้อยจังหวัดละ 1 เรื่อง