สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
Advertisements

15-16 กรกฎาคม 2557 โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น
การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ในช่วงเทศกาลสงกรานต์
มาตรการป้องกันควบคุม การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในช่วง เทศกาลสงกรานต์ จังหวัด นครศรีธรรมราช.
ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ใน สถานการณ์ภัยพิบัติ Medical Emergency Response Team Pairoj Khruekarnchana, MD. 1. Rajavithi Hospital under Department.
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมประชุม จังหวัดนำร่อง ดำเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ทั้งหมด ๑๒ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี สมุทรสาคร ระยอง ขอนแก่น กาฬสินธุ์ อุดรธานี
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร
การดำเนินงาน RTI.
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
Toward National Health Information System
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
Road to the Future - Future is Now
โดย ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว1, ดร. พงษ์ศักดิ์ ฮุ่นตระกูล2
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
การเชื่อมภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อน
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
Community health nursing process
การกระจายของโรคในชุมชน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
ความรู้พื้นฐานการให้รหัสโรค BASIC ICD-10
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
นโยบายการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
HDC แผนแพทย์ไทย.
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
ขั้นตอนการทำเรื่องการเรียนรู้ร่วมการทำงาน (พ.ค. – ก.ย. 62 )
การป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ระบบข้อมูลสารสนเทศ ด้านงานเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร Surveillance and Information System Improvement for Road Traffic Injuries สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข Ver. 28112013 ODPC1

ทำความรู้จักกับระบบข้อมูลงานที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังและป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร ในระดับจังหวัด Injury Surveillance (IS) สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข 19 สาเหตุ กระทรวงสาธารณสุข Information Technology for Emergency Medical System (ITEMS) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) กระทรวงสาธารณสุข ระบบทะเบียนมรณบัตร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข Police Information System ( POLIS) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ E-Claim บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด

ระบบรายงานข้อมูล ITEMS, 19 สาเหตุ, IS อุบัติเหตุจราจร จุดเกิดเหตุ โรงพยาบาล บาดเจ็บ / เสียชีวิต EMS ER, Ward daily ITEMS-2 Weekly ITEMS-1 + Provincial Health Office Provincial Data Center ** 19สาเหตุ** สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ IS** ITEMS-2 Real time connection** 19 สาเหตุ monthly งานเวชสถิติ**/ ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ** สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค **ระบบแตกต่างกันในบางจังหวัด

ระบบข้อมูลการจดทะเบียนการตาย (มรณบัตร) อุบัติเหตุจราจร จุดเกิดเหตุ โรงพยาบาลรัฐ/ เอกชน ฉุกเฉิน ,หอผู้ป่วย เสียชีวิต บาดเจ็บ (ไม่ไปรักษา) ใบรับรองการตายจากแพทย์ ใบรับรองการตายจากแพทย์ (กรณีมีการชันสูตร) จดทะเบียนการตาย หน่วยงานปกครอง Daily Daily มรณบัตร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สธ. monthly กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

ระบบข้อมูล POLIS, RAIS เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้รับผิดชอบ ร้อยเวรจราจร ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้รับผิดชอบ ออกตรวจจุดเกิดเหตุทันที ร้อยเวรจราจร ออกตรวจจุดเกิดเหตุทันที จุดเกิดเหตุ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี คัดแยกข้อมูลเฉพาะที่เป็นคดี จากสมุดบันทึก บันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ บันทึกข้อมูลลงในบันทึกประจำวัน(สมุดบันทึก) บันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์มบันทึก RAIS เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ POLIS Web site RAIS Web site weekly ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์กลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์กลาง บ. กลางประกันภัย จก.

ระบบ E-Claim บ.กลางคุ้มครองผู้ประสบภัย ผู้ประสบภัยจากรถที่มีประกันตาม พรบ ผู้ประสบภัยที่ไม่มีประกัน พรบ. รับการรักษาโรงพยาบาลทั้งรัฐและเอกชน ไม่ได้รับการรักษาใน รพ. (กรณี ทำประกันฯกับ บ.กลาง และ บ.ในเครือข่าย) เจ้าหน้าที่ รพ.หรือเจ้าหน้าที่ บ.กลางประจำโรงพยาบาล(ถ้ามี) บันทึกลงระบบ E-Claim ทุกวัน ยื่นขอเงินชดเชยที่ บ.กลาง ยื่นขอเงินชดเชยกับกองทุนช่วยเหลือผู้ประสบภัย ตรวจสอบกับระบบ E-Accident Online ทุกวัน บันทึกข้อมูล E-claim (กรณีไม่ใช่ ประกัน บ.กลาง) บันทึกข้อมูล บ.ประกันอื่น บันทึกข้อมูล E-claim จาก บ.กลางฯ สาขาจังหวัด ฐานข้อมูล E-claim บ.กลางฯ,ระดับประเทศ สรุปข้อมูล (รายเดือน รายปี)

ระบบการรายงานข้อมูลอุบัติเหตุจราจร จุดเกิดเหตุ ระดับจังหวัด โรงพยาบาล ตำรวจ บริการแพทย์ฉุกเฉิน, EMS ห้องฉุกเฉิน, หอผู้ป่วย, ชันสูตร 19 สาเหตุ ITEMS ใบรับรองการตาย E-claim POLIS, RAIS สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด IS ทะเบียนมรณบัตร สตช 19 สาเหตุ ITEMS กรมการปกครอง ส่วนกลาง กระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค สนย. บ. กลางประกันภัย จก. ผู้ป่วย เส้นทางการรายงาน

ฐานข้อมูลงานเฝ้าระวังและป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร ในระดับจังหวัด ระบบข้อมูล นิยามของระบบ วัตถุประสงค์ของระบบ IS ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ เพื่อพัฒนานโยบายด้านการป้องกันการบาดเจ็บ เพื่อพัฒนาการบริการด้านการรักษาพยาบาลผู้ป่วย บาดเจ็บ 19 สาเหตุ ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากสาเหตุภายนอก 19 สาเหตุหลัก เพื่อติดตามและเฝ้าระวังจำนวนผู้บาดเจ็บ ITEMS (สพฉ) ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อพัฒนางานด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ทะเบียนมรณบัตร ระบบจดทะเบียนการเสียชีวิตของประขากรไทย เพื่อติดตามและวิเคราะห์การตายในประชากรไทย POLIS ระบบบันทึกเคสคดี เพื่อเป็นทะเบียนคดีและวางแผนด้านกำลังตำรวจ E-claim ระบบลงทะเบียนการเบิกจ่ายเงินชดเขย ผู้ประสบภัยจากทางถนน เพื่อเป็นทะเบียนการเบิกจ่ายค่าชดเชยฯและด้านการ วางแผนงานของ บ. กลางประกันภัย จำกัด Add local service

กลุ่มประชาชนที่อยู่ในระบบข้อมูล ฐานข้อมูลงานเฝ้าระวังและป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร ในระดับจังหวัด ระบบข้อมูล กลุ่มประชาชนที่อยู่ในระบบข้อมูล IS ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตที่เข้ารับการรักษาใน รพ. ที่มีระบบบันทึกข้อมูล IS (ภายใน 7 วันหลังบาดเจ็บ) 19 สาเหตุ ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากสาเหตุ 19 ชนิด ที่เข้ารับการรักษาใน รพ. ของรัฐ ITEMS (สพฉ) ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตที่ได้รับการช่วยเหลือจากระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ทะเบียนมรณบัตร ประชาชนที่เสียชีวิตและแจ้งตายต่อนายทะเบียน POLIS ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุที่เป็นกรณีเป็นคดีความ E-claim ผู้ประกันตนตาม พรบ. ผู้ประสบภัยจากรถ กับ บ.กลางประกันภัย จำกัด Add local service

แบบจำลองความครอบคลุมของ ระบบข้อมูลอุบัติเหตุจราจรระดับจังหวัด ผู้เสียชีวิต ทั้งจังหวัด IS E claim มรณบัตร POLIS

Applied Haddon Matrix ก่อนเกิดเหตุ ระหว่างเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ คน ยานพาหนะ ถนน

Applied Haddon Matrix

Applied Haddon Matrix

การตอบสนองหลังการบาดเจ็บ ถนน ยานพาหนะ คน การตอบสนองหลังการบาดเจ็บ จุดเกิดเหตุ จุดเสี่ยง/จุดอันตราย สภาพสิ่งแวดล้อม ชนิด/ประเภท สภาพ/ความพร้อม ความเร็วในการขับขี่ ปัจจัยเชิงประชากร พฤติกรรมเสี่ยง การบาดเจ็บเสียชีวิต การนำส่ง การรักษาพยาบาล ค่าใช้จ่าย POLIS    การสืบสวนสอบสวน RAI     E-Claim กรมทางหลวง* IS Trauma registry 19 สาเหตุ ITEMS EMCO 43 แฟ้ม มรณบัตร

จุดน่าสนใจ ทั้ง 6 ระบบข้อมูล มีวัตถุประสงค์จำเพาะของระบบ จำนวนผู้บาดเจ็บ หรือ เสียชีวิตของแต่ละระบบมักมีตัวเลขแตกต่าง วัตถุประสงค์ของระบบต่างกัน นิยามผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตที่แตกต่าง ความครอบคลุมของประชากรที่แตกต่าง กำลังคนของผู้ปฏิบัติ ยังขาดการเชื่อมโยงข้อมูลที่ดีระหว่างระบบ ในลักษณะ electronic data

จุดน่าสนใจ ตัวแปรของแต่ละระบบมีความแตกต่างกัน จำนวนตัวแปรแตกต่างกัน องค์ประกอบแตกต่างกัน ความละเอียดแตกต่างกัน ความครบถ้วนของการกรอกข้อมูลแตกต่างกัน ตัวแปรที่ตัดสินใจยาก ตัวแปรที่ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ ตัวแปรที่ไม่สามารถติดตามผลภายหลังได้

แหล่งข้อมูลอื่นๆ ข้อมูลช่วงเทศกาล ปีใหม่ สงกรานต์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน

สรุปหลักการใช้ระบาดวิทยา เพื่อควบคุมและป้องกันอุบัติเหตุ สรุปหลักการใช้ระบาดวิทยา เพื่อควบคุมและป้องกันอุบัติเหตุ What Who Where When Clinical Person Place Time Descriptive Epidemiology ระบาดวิทยา เชิงพรรณนา สถานการณ์ สมมติฐาน มาตรการควบคุม/ป้องกัน Why/How Cause, Risk factors Analytic Epidemiology ระบาดวิทยา เชิงวิเคราะห์ สอบสวน/ งานวิจัย

แนวคิด งานป้องกันควบคุมอุบัติเหตุจราจร ดำเนินงานภายใต้ District Health System พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ ข้อมูลสถานการณ์ และเฝ้าระวัง ฐานข้อมูล ในและนอก สธ ทราบขนาดปัญหา กลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ ข้อมูลสร้างความสะเทือนใจ ข้อมูลรายละเอียดเคสที่สำคัญ อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ การแก้ปัญหา ป้องกัน ควบคุม ผ่านทางศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) ระดับพื้นที่

โครงการ พัฒนางานป้องกันควบคุมอุบัติเหตุจราจร 2558 ส่วนกลาง ส่วนกลาง DHS พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ ข้อมูลสถานการณ์ และเฝ้าระวัง ฐานข้อมูล ในและนอก สธ ทราบขนาดปัญหา กลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ ข้อมูลสร้างความสะเทือนใจ ข้อมูลรายละเอียดเคสที่สำคัญ สคร. โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ ส่วนกลาง สคร. อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ การแก้ปัญหา ป้องกัน ควบคุม ส่วนกลาง สคร. มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร โครงการมาตรการชุมชน ที่เป็นรูปธรรมและติดตามผลอย่างต่อเนื่องจริงจัง การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฏหมาย นโยบาย ส่วนกลาง

การดำเนินงานป้องกันควบคุมอุบัติเหตุจราจร 2558 ดำเนินงานภายใต้ District Health System ข้อมูลสถานการณ์ และเฝ้าระวัง ฐานข้อมูล ในและนอก สธ ทราบขนาดปัญหา กลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ ข้อมูลสร้างความสะเทือนใจ ข้อมูลรายละเอียดเคสที่สำคัญ การแก้ปัญหา ป้องกัน ควบคุม ผ่านทางศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) ระดับพื้นที่ หน่วยงาน สาธารณสุข ชุมชน /อปท. /หน่วยราชการ มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร การแก้ไขความเสี่ยง การทาง / ขนส่ง ข้อมูล บังคับใช้กฏหมาย ตำรวจ นโยบาย ศปถ. / ผู้ว่า