งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
สถิติกับดัชนีการวัด ในงานระบาดวิทยา ดร.ชาญชัยณรงค์ ทรงคาศรี สบ.(สาธารณสุขศาสตร์) สบ.(บริหารสาธารณสุข) สม.(ชีวสถิติ) ปร.ด. (Environmental) นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ กลุ่มระบาดวิทยา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น

2 STAT.@EPID. Median Mean Mode Rang Rate Ratio Proportion %
Descriptive Stat. Median Mean Mode Rang Rate Ratio Proportion % Dummy table Chart Graph Surveillance Diseases Distribution Determinant Epidemiology study - Descriptive - Analytical - Experimental Investigation - Outbreak - Epidemic Inference stat.

3 สรุป...ความหมายสเกลของการวัด
นามบัญญัติ =แตกต่างกันทางคุณภาพ + ไม่มีลำดับ Nominal scale (บวกลบคูณหาร ไม่ได้) เพศ, หมายเลขนักฟุตบอล เรียงอันดับ =แตกต่างกันทางคุณภาพ + มีทิศทาง Ordinal scale การวัดทางจิตวิทยา …………………………………………………………. อันตรภาค =วัดได้ + มีอันดับ + มีทิศทาง+ Interval scale ระยะห่างเท่าๆกัน คะแนน, อุณหภูมิ(ศูนย์ไม่แท้) อัตราส่วน =วัดได้ + มีอันดับ + มีทิศทาง + ระยะห่าง Ratio scale ความสูง, นน. (ศูนย์แท้) จุดเริ่มจาก 0

4 ความรู้ทางสถิติที่จำเป็น
จะทราบว่า “ปีนี้ที่นี่มีโรคไข้เลือดออกระบาด” จากไหน ? บัตร รง. 506, ไฟล์ข้อมูล, print out รายงานสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังฯ

5 ความรู้ทางสถิติที่จำเป็น
จะทราบว่า “ปีนี้ที่นี่มีโรคไข้เลือดออกระบาด” อย่างไร ? สถิติที่ใช้ ได้แก่ 1. ……………. 2. ……………. 3. ……………. เขต ก. Median เขต ข. Median ปีปัจจุบัน

6 ความรู้ทางสถิติที่จำเป็น
จะทราบว่า “ปีนี้ที่นี่มีโรคไข้เลือดออกระบาด” ที่ไหน ? สถิติที่ใช้ ได้แก่ 1. ……… 2. ……… 3. ……… RATE หมายเหตุ อัตราป่วยที่ใช้เป็นอัตราป่วยสมมติ

7 สถิติ การวัดการเกิดโรค

8 คำถามการวิจัย 2 ระดับ ขนาดของปัญหา
ความชุกของโรคความดันสูงในประชากร มีจำนวนประชากรกี่คนที่ไม่ได้รับการบริการทางแพทย์ที่เหมาะสม ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา การเกิดโรคความดันสูงสัมพันธ์กับระดับการศึกษาหรือไม่? ผู้ที่ไม่ได้รับบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับท้องถิ่นที่อาศัยอยู่?

9 คำถามการวิจัย 2 ระดับ : การวัดสถิติ
ขนาดของปัญหา (วัดการเกิดโรค) ความชุก Prevalence อุบัติการ Incidence ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา (วัดขนาดของความสัมพันธ์) Risk Ratio ==RR.==> Cohort Study Odds Ratio ==OR.==> Case-Control Study Odds Ratio ==OR.==> Cross-Sectional Study

10 วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา:สถานการณ์โรค/ภัย
- คำนวณ/แปลความหมายค่าสถิติต่างๆ - อธิบายลักษณะระบาดวิทยาของโรค …ตอบคำถาม… What When Where Who How ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ แนวทางแก้ปัญหาที่จำเพาะ/ตรงสาเหตุ

11 สถิติดัชนี :ในระบาดวิทยา
อัตรา (Rate) อัตราส่วน (Ratio) สัดส่วน (Proportion) ร้อยละ อัตราป่วย อัตราตาย อัตราป่วยตาย

12 A x k A สูตรการคำนวณ A + B B ก x k ก + ข + ค + ... อัตรา (Rate) =
อัตราส่วน (Ratio) = = A : B * สัดส่วน(Proportion)= = ……….…. % (k = 100) A B ก x k ก + ข + ค + ... ข้อสังเกต อัตรา ใช้กับการเกิดเหตุการณ์ (เกิด, ตาย, ป่วย, ฯ) สัดส่วน ใช้กับการแบ่งกลุ่ม (คน,สัตว์,สิ่งของ,เหตุการณ์ฯ)

13 การวัดความถี่ของการเกิดโรค
อัตรา “Rate” (มี 2 นัย) ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร อัตราการบาดเจ็บจากการจราจรในจ.ขอนแก่น เท่ากับ 81 ต่อประชากรแสนคน เป็นเรื่องที่มีมิติของเวลามาเกี่ยวข้อง อัตราอุบัติการณ์ของการติดเชื้อ HIV ในจ.ขอนแก่น ช่วงปี เท่ากับ 0.3 ต่อ 100 person-years

14 การวัดความถี่ของการเกิดโรค
อัตราส่วน “Ratio” ความสัมพันธ์ระหว่าง จำนวน 2 จำนวน ตัวตั้งไม่ได้รวมอยู่ในตัวหาร Range: 0 to  ตัวอย่าง: อัตราส่วนระหว่างผู้ป่วยโรคเลปโตฯ ชาย หญิง = 3:1 ตัวฐาน ขึ้นกับ องค์ความรู้โรคนั้นๆ

15 การวัดความถี่ของการเกิดโรค
สัดส่วน “Proportion” อัตราส่วนที่ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร มักแสดงเป็นร้อยละ Range: 0 to 1 A/(A+B) Example สัดส่วนของการบาดเจ็บการจราจรที่เกิดจากมอเตอร์ไซค์ เท่ากับร้อยละ 81 ของการบาดเจ็บจากการจราจรทั้งหมด อย่าลืม “ของ…”

16 สรุป :การใช้อัตรา อัตราส่วน สัดส่วน
อัตรา (Rate) ตัวหารเป็นจำนวนPOP.ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรค/ภัย (เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์) อัตราของกลุ่มย่อยไม่สามารถนำมาบวกกันเป็นผลรวมได้ อัตราส่วน (Ratio) อัตราส่วนที่ไม่มีหน่วย นิยมให้ค่าน้อยเท่ากับ 1 อัตราส่วนที่มีหน่วย การแปลความ (จะมีลักษณะเฉพาะเสมือนเป็นอัตรานั้น ) สัดส่วน(Proportion) ใช้แทนอัตรากรณีไม่ทราบตัวหารที่เป็นจำนวนประชากรเสี่ยงฯ ผลรวมของสัดส่วนทั้งหมดเท่ากับ 1 หรือ 100 %

17 ดัชนีวัดการป่วยหรืออัตราป่วย (Morbidity rate)
1. ดัชนีการป่วยที่เกิดใหม่ - อัตราอุบัติการ (Incidence rate) - อัตราป่วยฉับพลัน (Attack rate)… สอบสวนการระบาด 2. ดัชนีการป่วยทั้งหมด (Prevalence rate) - อัตราความชุกของช่วงเวลาหนึ่ง(Period of time) - อัตราความชุก ณ.จุดหนึ่งของเวลา(Point of Time) 3. ดัชนีการป่วยจำเพาะ - อัตราป่วยจำเพาะ (Specific attack rate) - สัดส่วนสาเหตุการป่วย (Proportional morbidity rate)

18 การคำนวณอัตราป่วยที่สำคัญ
1.อัตราอุบัติการ (Incidence rate) = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่xค่าคงที่ จำนวนประชากรที่เสี่ยงต่อโรคในช่วงเวลาเดียวกัน 2.อัตราความชุก (Prevalence rate) = (จำนวนผู้ป่วยรายใหม่+รายเก่าxค่าคงที่ หมายเหตุ - อัตราป่วยฉับพลัน (Attack rate) และอัตราป่วยจำเพาะ (Specific attack rate) คำนวณเหมือนอัตราอุบัติการ แต่ใช้กับการระบาดแบบ Outbreak หรือใน ปชก. เฉพาะกลุ่ม (ถ้าปชก.ทุกคนเสี่ยงเท่ากัน ในช่วงเวลา 1 ปี ตัวหาร = ปชก.กลางปี)

19 ทำไมต้อง …Attack rate ในงานสอบสวนทางระบาดวิทยา
- อัตราป่วยเฉียบพลัน คือ อะไร คำนวณเหมือนอัตราอุบัติการ แต่ใช้กับการระบาดแบบ Outbreak หรือ ใน ปชก. เฉพาะกลุ่ม (cluster) (ถ้าปชก.ทุกคนเสี่ยงเท่ากัน ในช่วงเวลา 1 ปี ตัวหาร = ปชก.กลางปี) A x 100 A+B Incidence rate

20 การวัด อุบัติการของการเกิดโรค
มี 2 แนวทางในการวัด 1) อุบัติการสะสม Cumulative incidence = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด ประชากรที่เสี่ยงในช่วงเวลานั้น = = 1.25 /1,000 32,000 X 10(n)

21 Measuring the incidence
การวัด อุบัติการของการเกิดโรค 2) อัตราอุบัติการ (Incidence density or Incidence rate ) การเพิ่ม “มิติของเวลา” ลงไปในตัวหาร “Person-time” Person-month, Person-year

22 ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่ กับอุบัติการการเกิดอัมพาต
ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never , Ex-smoker , Smoker , Total ,

23 ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับอุบัติการการเกิดอัมพาต ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี
Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never , Ex-smoker , Smoker , Total , Cumulative incidence = 274/118,539 = 2.31 /1,000

24 สรุป...ความหมาย ความชุก Prevalence:
ความน่าจะเป็นที่บุคคลจะเป็นผู้ป่วยในช่วงเวลาที่สนใจ อุบัติการ Incidence: ความน่าจะเป็นหรือความเสี่ยงที่บุคคลที่แข็งแรงดีจะเกิดการป่วยขึ้นมาในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง

25 การนำดัชนีวัดการป่วยไปใช้ประโยชน์
1. อัตราอุบัติการ (Incidence rate) > นิยมใช้กับการป่วยแบบเฉียบพลัน (Acute disease) > แสดงความเสี่ยงหรือโอกาสในการเป็นโรค > เป็นเครื่องบ่งชี้ประสิทธิผลของมาตรการควบคุมโรค > เป็นดัชนีประเมินผลการป้องกันควบคุมโรค 2. อัตราความชุก (Prevalence rate) > นิยมใช้กับการป่วยแบบเรื้อรัง (Chronic disease) > ใช้บอกปัญหาหรือความชุกชุมของโรคในชุมชน > เป็นแนวทางจัดบริการรักษาพยาบาล/สังคมสงเคราะห์ > เป็นดัชนีประเมินผลการให้บริการ

26 การใช้ดัชนีวัดการตายที่สำคัญ
1. อัตราตายอย่างหยาบ (Rate/100,000) > ใช้บอกสภาวะอนามัยของชุมชนในภาพรวม > มีค่าสูงในกลุ่ม ปชก. ที่มีสภาวะเศรษฐกิจและสังคมต่ำ > เป็นอัตราที่แท้จริงของการตายที่เกิดขึ้นในชุมชน 2. อัตราตายจำเพาะสาเหตุ > บอกลักษณะเฉพาะโรค หรือความเสี่ยงต่อการตายจากโรคนั้น 3. อัตราผู้ป่วยตาย …… (%) > ใช้บ่งชี้ความรุนแรงของโรคหรือปัญหา > ใช้บ่งชี้ถึงคุณภาพทางการแพทย์และการรักษาพยาบาล 4. อัตรามารดาตายและอัตราทารกตาย > ใช้บ่งชี้ถึงคุณภาพทางการแพทย์และการสาธารณสุข

27 ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ อธิบายทั้งกลุ่มผู้ป่วย
Non Cases Factor A อธิบายทั้งกลุ่มผู้ป่วย และไม่ป่วย Cases Factor A ศึกษาหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค

28 Cross-sectional study
-สุ่มตัวอย่างจากคนในชุมชน 359 คน - สอบถามพฤติกรรมการกิน แต่ละคน - จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ลงในตาราง 2x2 D+ D- E+ A=42 B=203 C=7 D=107 E- Total a+c b+d n=a+b+c+d เป็นการกำหนดจำนวนรวมทั้งหมด(Total) ล่วงหน้า นำเสนอร้อยละ ที่ % ของ Total ก่อนเสมอ (หา Prevalence rate) 4/22/2019

29 Case-control study Odds ratio = ประชากร ป่วย ไม่ป่วย Oddct= Oddcs =
Exposed Oddct= Oddcs = Exposed Non-exp. Non-exp. Odds ratio = Oddcs Oddct

30 กำหนดจำนวนรวมทั้งหมด(Total Column) ล่วงหน้า
Case-control -เริ่มด้วย หา Pt.ในชุมชน 49 คน -สุ่มตัวอย่าง ผู้ที่ไม่ป่วย 310 คน -สอบถามประวัติ การกินอาหาร แต่ละคน -จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ลงในตาราง 2x2 D+ D- A=42 B=203 C=7 D=107 E+ E- Total n=a+b+c+d กำหนดจำนวนรวมทั้งหมด(Total Column) ล่วงหน้า นำเสนอร้อยละ ที่ % ของคอลัมภ์ Total (หา Prevalence rate)

31 Cohort study = = Relative risk = Risk Risk Not Eat Ate Non-case Case
กลุ่มประชากร ที่ศึกษา Not Eat Ate Non-case Risk Ate = Case = Risk Not Eat Non-case Case

32 Cohort -เริ่มด้วย ติดตามคนปกติ ที่กินอาหาร 245 คน -และ คนปกติ ที่ไม่กินอาหาร 114 คน - ติดตามเป็นเวลา 5 วัน -จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ลงในตาราง 2x2 D+ D- 245 A=42 B=203 C=7 D=107 E+ 114 E- Total n=a+b+c+d กำหนดจำนวนรวมทั้งหมด(Total Row) ล่วงหน้า นำเสนอร้อยละ ที่ % ของ Row (หา Incidence rate)

33 ตั้งชื่อถูกใจ ……………ให้หนังสือสถิติ ฟรี สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google