งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

2 สถานการณ์ด้านความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทย  ประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตสูงเป็นอันดับที่ 2 ของโลก  อัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 36.2 คน ต่อแสนประชากร (ประมาณการผู้เสียชีวิต 24,237 ราย)  ปี 2556 อัตราการเสียชีวิต 38.1 ประชากร (ประมาณการผู้เสียชีวิต 26,312 ราย) และเป็นอันดับ 3 ของโลก และอันดับ 1 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ WHO รายงานสถานการณ์โลกด้านความปลอดภัยทางถนน ปี 2015 (พ.ศ. 2558) อันดับประเทศ อัตราเสียชีวิต ต่อแสนประชากร อันดับที่ 1ลิเบีย73.4 อันดับที่ 2ไทย36.2 อันดับที่ 3มาลาวี35.0 อันดับที่ 4ไลบีเรีย33.7 อันดับที่ 5คองโก33.2 อันดับที่ 6แทนซาเนีย32.9 อันดับที่ 7แอฟริกากลาง32.4 อันดับที่ 8อิหร่าน32.1 อันดับที่ 9โมซัมบิก31.6 อันดับที่ 10โตโก31.1 2

3 เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียน ประเทศ อัตราเสียชีวิต ต่อแสนประชากร ไทย36.2 เวียดนาม24.5 มาเลเซีย24.0 พม่า20.3 กัมพูชา17.4 ติมอร์16.6 อินโดนีเชีย15.3 ลาว14.3 ฟิลิปปินส์10.5 สิงคโปร์3.6 บรูไนไม่มีข้อมูล ประเทศ อัตราเสียชีวิต ต่อแสนประชากร อันดับ 1 ไทย26.3 อันดับ 2 สาธารณรัฐ โดมินิกัน 18.5 3

4 สถิติอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่ และสงกรานต์ 2556-2558 แหล่งข้อมูล: กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 4

5 สาเหตุหลัก และปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิด อุบัติเหตุทางถนน  พฤติกรรมเสี่ยงใน การใช้รถใช้ถนน ของผู้ขับขี่และ ผู้ใช้เส้นทาง - ขับเร็ว - เมาสุรา - ง่วง - ค่านิยม/ความเชื่อ  ความสามารถของ ผู้ขับขี่ลดลง เนื่องจากสภาพ ร่างกายไม่พร้อม  ขาดความพร้อม ด้านอุปกรณ์ พื้นฐานในรถยนต์  ขาดความพร้อม ด้านอุปกรณ์ความ ปลอดภัย  การปรับแต่ง สภาพยานพาหนะ  การบรรทุกที่ไม่ ปลอดภัย  สภาพการจราจร ที่หนาแน่น  อุปกรณ์ควบคุม การจราจร มีสภาพ ไม่สมบูรณ์ และ ติดตั้งในตำแหน่ง ที่ไม่เหมาะสม  ลักษณะทาง กายภาพของถนนไม่ สมบูรณ์ - ผิวถนนเป็นหลุม - จุดเสี่ยง - จุดตัดทางรถไฟ - จุดที่เกิดอุบัติเหตุ บ่อย  ไฟฟ้าส่องสว่าง ชำรุดและ ไม่เพียงพอ  อุปสรรคทาง ธรรมชาติ  ลักษณะภูมิอากาศ  สิ่งกีดขวางตกหล่น บนช่องทางจราจร 5

6 แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนของ ประเทศไทยตามกรอบแนวทางสากล  ประกาศเจตนารมณ์ปฏิญญามอสโก กำหนด ปี 2011 – 2020 (พ.ศ. 2554 - 2563) เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัย ทางถนน”  มติ ครม. เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2553 เห็นชอบให้ “ปี 2554 – 2563 เป็นทศวรรษ แห่งความปลอดภัยทางถนน” Time for Action Time for Result  ประกาศปฏิญญาบราซิเลีย 19 พ.ย. 58 - ประชุม High - Level Conference on Road Safety ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 18 - 19 พฤศจิกายน 2558 ณ กรุงบราซิเลีย สหพันธรัฐบราซิล - สาระสำคัญ 1) การสร้างความตระหนักว่าอุบัติภัย ทางถนนส่งผลกระทบทางลบต่อสุขภาพของ ประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ 2) ย้ำความสำคัญของการส่งเสริม ความเท่าเทียมทางสังคมและความเท่าเทียม ทางเพศในบริบทของความปลอดภัยทาง ถนน 3) ข้อเสนอแนะในการยกระดับความ ปลอดภัยทางถนน ใน 5 เสาหลัก (ข้อมูลจากเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ) 6 กรอบ 5 เสาหลักตามองค์การสหประชาชาติ  เป้าหมายลดอัตราผู้เสียชีวิตลง ร้อยละ 50 ในปี 2563 (2020) เสาหลักที่ 1 การบริหารจัดการความปลอดภัยทางถนน เสาหลักที่ 2 ถนนและการสัญจรอย่างปลอดภัย เสาหลักที่ 3 ยานพาหนะปลอดภัย เสาหลักที่ 4 ผู้ใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย เสาหลักที่ 5 การตอบ สนองหลัง เกิดอุบัติเหตุ

7 กลไกการขับเคลื่อนนโยบาย ด้านความปลอดภัยทางถนน ภาครัฐ เอกชน สถานประกอบการ ท้องถิ่น ฯ รัฐบาล คณะกรรมการ นโยบาย ศูนย์อำนวยการ ความปลอดภัย ทางถนน (ศปถ.) ศูนย์อำนวยการ ความปลอดภัย ทางถนนจังหวัด (ศปถ.จังหวัด) พื้นที่ อำเภอ (ศูปถ.อำเภอ)/ ตำบล/ชุมชน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ข้อ 5.4 “ป้องกันและแก้ไขปัญหาการ เกิดอุบัติเหตุในการจราจร อันนำไปสู่ การบาดเจ็บและเสียชีวิตโดยการร่วมมือ ระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ในการตรวจจับเพื่อ ป้องกันการรายงาน และการดูแลผู้บาดเจ็บ” หน่วยงาน องค์กร ภาคีต่างๆ การป้องกันและ ลดอุบัติเหตุ ทางถนน 7 ภาค เอกชน องค์ความรู้และ นวัตกรรม ท้องถิ่น

8 การจัดทำแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนนและแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับ แผนแม่บทและแผนทศวรรษความปลอดภัยทางถนน ฉบับที่ 1 ช่วงปี 2548 - 2551ฉบับที่ 2 ช่วงปี 2552 - 2555 ฉบับที่ 3 ช่วงปี 2556 - 2559  วิสัยทัศน์ “เพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นโดย ยกระดับความปลอดภัยทางถนน ของประเทศไทยสู่ มาตรฐานสากล”  ยุทธศาสตร์หลัก 5 ยุทธศาสตร์  วิสัยทัศน์ “บนถนน ทุกชีวิต ปลอดภัยตามมาตรฐานสากล”  ยุทธศาสตร์หลัก 6 ยุทธศาตร์  วิสัยทัศน์ “ร่วมกันสร้างการสัญจร ที่ปลอดภัยตามมาตรฐาน สากล”  ยุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ 1.การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement) 2.ด้านวิศวกรรม (Engineering) 3.การให้ความรู้ (Education) 4.การบริการการแพทย์ฉุกเฉิน EMS (Emergency Medical Service System ) 5.การประเมินผลและสารสนเทศ (Evaluation and Information) 1.การปรับนโยบายให้เป็นนโยบาย เร่งด่วนระดับชาติ 2.การสร้างเสถียรภาพในการแก้ไข ปัญหาอย่างยั่งยืน 3.การทำแผนนิติบัญญัติ 4.การป้องกันและแก้ไขปัญหา ความปลอดภัยทางถนนใน ส่วนกลาง 5.การป้องกันและแก้ไขปัญหา ความปลอดภัยทางถนนใน ภูมิภาคและท้องถิ่น 6.วิจัย พัฒนา และติดตา ประเมินผลด้านความปลอดภัย ทางถนน 1.พัฒนาระบบบริหารจัดการด้านความ ปลอดภัยทางถนนสู่ระดับสากล 2.การเสริมสร้างความปลอดภัยแบบมุ่งเป้า 3.ลดความสูญเสียในปัจจัยเสี่ยงหลัก อย่างยั่งยืน 4.เสริมสร้างความปลอดภัยทางถนน ในท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม 8 กลไกการขับเคลื่อนนโยบายด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เห็นชอบแผน แม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2556 – 2559

9 รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงนโยบายต่อสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ ข้อ 5.4 “ป้องกันและแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุในการจราจร อันนำไปสู่การบาดเจ็บและเสียชีวิตโดยการร่วมมือระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ในการตรวจจับเพื่อป้องกัน การรายงาน และการดูแลผู้บาดเจ็บ” นโยบายเน้นหนักกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 “การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตามวาระแห่งชาติ” มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 สรุปบทเรียนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2558 และ แนวทางการขับเคลื่อนงานด้านความปลอดภัยทางถนน มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2558 สรุปการดำเนินการป้องกันและลดอุบัติเหตุ ทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2558 9 กลไกการขับเคลื่อนนโยบายด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ)

10 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 สรุปบทเรียนช่วง เทศกาลปีใหม่ 2558 และแนวทางการขับเคลื่อนงานด้านความปลอดภัย ทางถนน  มีมติเห็นชอบแนวทางการขับเคลื่อนงานด้านความปลอดภัยทางถนนเพื่อให้การ แก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนเป็นรูปธรรม ประกอบด้วยแนวทางที่สำคัญ ดังนี้ 1. มาตรการการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด จริงจัง 2. มาตรการเสริมโดยการสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 3. แนวทางการขับเคลื่อนงานที่เป็นเอกภาพและทิศทางเดียวกันโดยอนุมัติ ให้ใช้แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2556 – 2559 เป็นกรอบแนวทาง การขับเคลื่อนการดำเนินการป้องกันและ ลดอุบัติเหตุทางถนน 4. กำหนดให้ปี 2558 เป็นปีรณรงค์เรื่อง 1) การลดความเร็วในการขับขี่ยานพาหนะ 2) ความปลอดภัยทางถนนสำหรับเด็ก 3) การสวมหมวกนิรภัย 100% 10 กลไกการขับเคลื่อนนโยบายด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ)

11 11 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2558 สรุปการ ดำเนินการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาล สงกรานต์ 2558  มีมติเห็นชอบข้อเสนอเพื่อขับเคลื่อนงานด้านความ ปลอดภัยทางถนน ประกอบด้วย 1. การดำเนินการด้านกฎหมายและมาตรการ ที่เกี่ยวข้องอย่างเข้มข้นจริงจัง และต่อเนื่อง 2. การปลูกฝังสร้างจิตสำนึกวัฒนธรรมความ ปลอดภัยและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 3. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและกลไก การติดตามประเมินผล

12 การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน นโยบายที่จะขับเคลื่อนต่อเนื่องในปี 2559 12  การลดความเร็วในการขับขี่ยานพาหนะ  ความปลอดภัยทางถนนสำหรับเด็ก  ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์

13 มติคณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน เห็นชอบแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับ แผนแม่บทและแผนทศวรรษความปลอดภัยทางถนน เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2558 มติ ครม.อนุมัติให้ใช้แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2556 – 2559 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2558 กรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย บริษัทกลางคุ้มครอง ผู้ประสบภัยจากรถ สำนักงานกองทุน สนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยทางถนน ในระดับจังหวัด อำเภอ และท้องถิ่นเพื่อรองรับแผนแม่บท ความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2556 – 2559 จัดทำ  เสนอกรอบแนวทางแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2556 – 2559  เสนอแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุ ทางถนน และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ในพื้นที่  เพื่อให้จังหวัดมีการกำหนดทิศทางอย่างเป็นระบบ มีการจัดทำแผนงาน/โครงการ ที่สอดคล้องกับข้อเท็จจริง ในพื้นที่ และเชื่อมโยงกับภาพรวมนโยบาย การดำเนินงาน วัตถุประสงค์ การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับแผนแม่บทและแผนทศวรรษ ความปลอดภัย ทางถนนในระดับจังหวัด พ.ศ. 2558-2559 การขับเคลื่อนงานด้านความปลอดภัยทางถนนในระดับพื้นที่  จัดการสัมนาเชิงปฏิบัติการฯ ขึ้นในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัดจำนวน 9 ครั้ง ในเดือนพฤษภาคม 2558  จังหวัดบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด วิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ข้อเท็จจริง บริบทความปลอดภัยทางถนนของแต่ละพื้นที่ กำหนดประเด็น สำคัญที่ต้องแก้ไขในระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว  ดำเนินการติดตามประเมินผล การจัดทำแผนปฏิบัติการของจังหวัดเพื่อรับทราบปัญหา อุปสรรคในระดับพื้นที่ ในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัดจำนวน 9 ครั้ง ในเดือนพฤศจิกายน 2558 13

14 14  การปลูกฝังสร้างจิตสำนึกวัฒนธรรมความปลอดภัย และลดพฤติกรรมสี่ยงในการขับขี่ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง อาทิ ขับเร็ว เมาแล้วขับ ไม่สวมหมวกนิรภัย ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย ใช้โทรศัพท์ขณะขับขี่ ไม่มีใบขับขี่ ขับรถตัดหน้ากระชั้นชิด อื่น ๆ 1 เริ่มที่ตัวเรา และ ครอบครัว 2 รักษาวินัยจราจร ขับรถให้ถูกกฎหมาย สร้างจิดสำนึกให้เกิดเป็นวัฒนธรรม ความปลอดภัย 3 มีส่วนร่วมในการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างควมตระหนัก และ ตรวจตรา ป้องปรามผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่ 4 5 ตรวจสอบยานพาหนะ และผู้ขับขี่ ให้มีความพร้อม การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน

15 15  ปภ. ประกาศมาตรการองค์กร ปภ. กำหนดโครงการ “มาตรการองค์กรด้านความปลอดภัยทางถนน” เพื่อเป็นการ ปลูกจิตสำนึกรักความปลอดภัย เป็นการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยให้เกิดขึ้นในองค์กร และเป็นองค์กรต้นแบบ โดยนำไปขยายผลต่อยอดเพื่อให้สามารถลดความสูญเสียจาก อุบัติเหตุทางถนนของบุคลากรในองค์กร “ร่วมใจประสาน มาตรการองค์กร สัญจรปลอดภัย เสริมวินัย ปภ.” แจ้งผู้ว่าราชการจังหวัด ขอความร่วมมือแจ้ง หัวหน้าสำนักงาน ปภ. จังหวัด และหัวหน้า สำนักงาน ปภ.จังหวัด สาขา ทราบและบรรเทา สาธารณภัย เรื่อง มาตรการองค์กรด้าน ความปลอดภัยทางถนน เรื่อง มาตรการองค์กรด้านความปลอดภัยทางถนน เพื่อเป็นกรอบแนวทางการปฏิบัติงานด้านความ ปลอดภัยทางถนนของบุคลากรในสังกัด ปภ. คำขวัญ (Motto) ประกาศ กรมป้องกันฯ ถือปฏิบัติ ตามประกาศ กรมป้องกันฯ

16 16 ปฏิบัติตามกฎจราจรและ ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อย่างเคร่งครัดในการใช้รถ ใช้ถนน มาตรการ 10 รสขม  1 ร ไม่ขับรถเร็วเกินกว่ากฎหมายกำหนด  2 ส ไม่ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร/ไม่ขับรถ ย้อนศร)  3 ข คาดเข็มขัดนิรภัย/พกใบขับขี่/ ไม่แซงในที่คับขัน)  4 ม เมาไม่ขับ /สวมหมวกนิรภัย/ ไม่ดัดแปลงมอเตอร์ไซค์/ ไม่ใช้มือถือขณะขับขี่ มีส่วนร่วมในการสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีด้านความ ปลอดภัยทางถนนเพื่อให้เป็น บุคลากรต้นแบบ ผู้บังคับบัญชาทุกระดับจะต้องดำเนินการให้เป็นไปตาม มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2546 ในกรณี บุคลากรในสังกัดไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย/นโยบายความ ปลอดภัยทางถนนโดยให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณา ดำเนินการลงโทษทางวินัยต่อไป สาระสำคัญ ของประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เรื่อง การดำเนินการตามมาตรการองค์กรด้านความปลอดภัยทางถนน ปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดี มีจิตสำนึกรักความปลอดภัย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และมีน้ำใจต่อ ผู้ใช้รถใช้ถนน เพื่อให้เกิด ความปลอดภัยบนท้องถนน

17 จะเน้นการดำเนินการด้าน กฎหมายและมาตรการ ที่เกี่ยวข้องเข้มงวด จริงจัง เน้นสร้างจิตสำนึกวัฒนธรรม ความปลอดภัย และการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และกลไกการติดตาม ประเมินผล เช่น การจัดการ ด้านวิศวกรรมจราจร จุดเสี่ยง วิเคราะห์สาเหตุของอุบัติเหตุ กรอบการดำเนินการ 1. ชื่อในการ รณรงค์ “สุขกาย สุขใจ ขับขี่ปลอดภัย รับปีใหม่ 2559” 2. ช่วงเวลา ดำเนินการ รณรงค์ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 4 มกราคม 2559 โดย แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ 1)ช่วงเตรียมความพร้อมและช่วงการรณรงค์ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 28 ธันวาคม 2558 2)ช่วงควบคุมเข้มข้น วันที่ 29 ธันวาคม 2558 - 4 มกราคม 2559 3. เป้าหมาย การดำเนินการ ในภาพรวม 1)เพื่อให้ประชาชนเดินทางสัญจรอย่างปลอดภัย และมีความสุขในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2559 2)สถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนน จำนวน ผู้เสียชีวิต และจำนวนผู้บาดเจ็บลดลงให้เหลือ น้อยที่สุด ซึ่งให้จังหวัด อำเภอ และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้กำหนดเป้าหมาย การดำเนินงานด้วยตนเอง การจัดตั้งศูนย์อำนวยการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุ ทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2559 ทั้งในส่วนกลาง จังหวัด อำเภอ และท้องถิ่น แผนบูรณาการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2559 (มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2558 รับทราบแผนบูรณาการฯ) เน้นการบูรณาการร่วมกัน ทุกภาคส่วนทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร ภาคเอกชน และภาคประชาชนในลักษณะ ยึดพื้นที่เป็นตัวตั้ง (Area Approach) 17

18 18 4. มาตรการ ที่กำหนด มาตรการที่กำหนด แบ่งเป็น 2 มาตรการหลัก คือ 18 แผนบูรณาการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2559 (มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2558 รับทราบแผนบูรณาการฯ) 1 มาตรการทั่วไปตาม 5 เสาหลัก โดยเน้นการบูรณาการ ที่เคร่งครัดและเข้มงวด 1.มาตรการด้านการบริหารจัดการ เช่น การจัดตั้งศูนย์อำนวยการและ ปฏิบัติการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนทุกระดับ ฯลฯ 2.มาตรการด้านถนนและการสัญจรอย่างปลอดภัย เช่น กำกับ ติดตามแก้ไข จุดเสี่ยง ฯลฯ 3.มาตรการด้านยานพาหนะที่ปลอดภัย เช่น กำกับ ควบคุมรถโดยสาร สาธารณะ พนักงานขับรถ ฯลฯ 4.มาตรการด้านผู้ใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย เช่น การจัดตั้งจุดตรวจ จุดอำนวยความสะดวกและบริการประชาชน ฯลฯ 5.มาตรการด้านการตอบสนองหลังเกิดอุบัติเหตุ เช่น การเตรียมความพร้อม ของหน่วยกู้ชีพกู้ภัย ฯลฯ มาตรการเน้นหนัก จำนวน 2 มาตรการหลักสำคัญ 1.มาตรการการป้องกัน 2.มาตรการแก้ไขปัญหา 18 2

19 19 รายละเอียดมาตรการเน้นหนักที่ดำเนินการ มาตรการป้องกัน จำนวน 5 มาตรการ 1) มาตรการการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด จริงจัง และต่อเนื่อง - บังคับใช้กฎหมายตามมาตรการ 1ร. 2ส. 3ข. 4ม. (10 รสขม) ได้แก่ 1) ความเร็วเกินกว่ากฎหมายกำหนด 2) ขับรถย้อนศร 3) ฝ่าฝืนสัญญาณจราจร 4) ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย 5) ไม่มีใบขับขี่ 6) แซงในที่คับขัน 7) เมา สุรา 8) ไม่สวมหมวกนิรภัย 9) มอเตอร์ไซค์ไม่ปลอดภัย 10) ใช้โทรศัพท์มือถือขณะขับรถ - กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กฎหมายสุรา กฎหมาย สถานบริการ กฎหมายทางหลวง กฎหมายการขนส่งทางบก เป็นต้น 2) มาตรการด้านสังคมและชุมชน อาทิ - จัดตั้ง “ด่านชุมชน” โดยบูรณาการร่วมกับอำเภอ สำนักงานเขต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน หมู่บ้าน และอาสาสมัครต่าง ๆ เพื่อสกัดกลุ่มเสี่ยงและลดพฤติกรรมเสี่ยง - จัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี 3) มาตรการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ประชาสัมพันธ์ให้ ประชาชนรับทราบเกี่ยวกับมาตรการบังคับใช้กฎหมาย ผ่านสื่อทุกชนิดอย่างต่อเนื่อง 4) มาตรการดูแลความปลอดภัยให้แก่นักท่องเที่ยว - ให้จังหวัดที่มีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน จังหวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว และกรุงเทพมหานคร พิจารณาหามาตรการหรือแนวทางในการป้องกันและ ลดอุบัติเหตุทางถนนเป็นพิเศษ เพื่อดูแลความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ 1

20 20 รายละเอียดมาตรการเน้นหนักที่ดำเนินการ มาตรการป้องกัน จำนวน 5 มาตรการ (ต่อ) 5) มาตรการป้องกันอุบัติเหตุจากการสัญจรทางน้ำ - ให้จังหวัดที่มีพื้นที่เส้นทางสัญจรหรือแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำและกรุงเทพมหานคร บูรณาการร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อเฝ้าระวัง และเตรียมความพร้อมในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางน้ำ โดยให้ กวดขัน ตักเตือน และควบคุมดูแลผู้ควบคุมเรือ เจ้าของเรือ หรือผู้ประกอบการให้ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเรือ 1 มาตรการแก้ไขปัญหา 1) การแก้ไขปัญหาจุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง และจุดที่เกิดอุบัติเหตุใหญ่ - ให้จังหวัดและกรุงเทพมหานครประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่มาวิเคราะห์ เพื่อหามาตรการและแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้ตรงกับสภาพข้อเท็จจริงในปัจจุบัน และให้พิจารณาจัดตั้ง จุดตรวจในบริเวณจุดเสี่ยง จุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง และจุดที่เกิดอุบัติเหตุใหญ่เป็นพิเศษ 2) การแก้ไขปัญหาจุดตัดทางรถไฟ - ให้จังหวัดที่มีทางรถไฟผ่านในพื้นที่และกรุงเทพมหานครบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อกำหนดมาตรการแนวทางในการแก้ไขปัญหา ในบริเวณจุดตัดทางรถไฟ รวมทั้งประสานขอความร่วมมือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการ 3) การปรับสภาพสิ่งแวดล้อมอันตรายข้างทาง 2

21 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google