งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น
การดำเนินงานจัดการธุรกรรมการเบิกจ่าย และระบบข้อมูลบริการสาธารณสุข (National Clearing House : NCH) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น

2 มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖
ที่มาและความสำคัญ มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ๑. เห็นชอบตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๖ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในฐานะ ประธานกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเสนอ ดังนี้ ๑.๑ ให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามมาตรา ๑๘(๑๔) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ในการควบคุมดูแล สปสช. ให้ปฏิบัติหน้าที่อื่น ได้แก่ การทำหน้าที่หน่วยงานกลางจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายและระบบข้อมูลบริการสาธารณสุข (National Clearing House) ตามนโยบายการบูรณาการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบประกันสุขภาพของรัฐบาล เพื่อบริหารการเรียกเก็บค่าบริการสาธารณสุข (Claim center) ของสถานพยาบาลต่าง ๆ ที่ให้บริการผู้มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและบุคคลในครอบครัว ผู้ประกันตน รวมทั้งข้าราชการพนักงานส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานรัฐอื่นๆ ที่สมัครใจ โดยอาศัยอำนาจแห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๖ (๑๔)

3 What is National clearing house ?
ทำหน้าที่ในการชำระข้อมูลและบัญชีเพื่อการจ่ายชดเชยระหว่างกองทุน ชำระเรื่องอะไรบ้าง งานทะเบียนสิทธิซ้ำซ้อน งานทะเบียนหน่วยบริการ การตรวจสอบชดเชยของแต่ละกองทุน การโอนเงินและรายงานทางการเงินที่แสดงภาระลูกหนี้ เจ้าหนี้ของหน่วยบริการกับแต่ละกองทุน สนับสนุนการพัฒนา national health information system โปร่งใส ประสิทธิภาพ และการมีส่วนร่วม

4 บทบาทของ สปสช. เริ่มดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เป็นต้นมา 1. สิทธิข้าราชการ สำหรับสถานพยาบาลนอกเหนือ 168 แห่ง โดยจัดทำข้อมูลและส่งให้กรมบัญชีกลางเป็นผู้โอนเงิน 2. สิทธิ อปท. สำหรับสถานพยาบาลรัฐทุกแห่ง โดยจัดทำข้อมูลและโอนเงินให้สถานพยาบาลโดยตรง 3. สิทธิประกันสังคม ยังไม่เริ่มดำเนินการ ( ดำเนินการตามระบบเดิมไปก่อน)

5 การบูรณาการจัดทำธุรกรรมการเบิกจ่ายและ ระบบข้อมูลบริการสาธารณสุข
สปสช. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น กรมบัญชีกลาง กองทุนประกันสังคม ศูนย์ข้อมูลกลาง (National information center) สรุปบัญชีการจ่าย ส่งต่อข้อมูล สปสช. โดยระบบ การบูรณาการจัดทำธุรกรรมการเบิกจ่ายและระบบข้อมูลบริการสาธารณสุข โปรแกรม eClaim สนับสนุน ข้อมูลขอรับชดเชย สรุปบัญชีการจ่าย ตรวจสอบ/ประมวลผล (Audit, Case Mix, DSMO) จัดสรร ชดเชย โรงพยาบาล รับบริการ ประชาชนสิทธิสวัสดิการข้าราชการ,ประกันสังคม,ข้าราชการส่วนท้องถิ่น,ประกันสุขภาพแห่งชาติ

6 สิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงในโปรแกรม e-Claim
การใช้ drug catalog ซึ่งเป็นข้อมูลรายการยาของแต่ละรพ. เพื่อใช้ในการคีย์ข้อมูลผ่านโปรแกรม e-Claim แทนการใช้ตารางข้อมูลรหัส 24 หลักเดิมซึ่งใช้ตาราง master ของยาทั้งประเทศ การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้าง 16 แฟ้ม เพื่อรองรับการส่งเบิกสิทธิประกันสังคมและ drug catalog การเปลี่ยนแปลงวิธีการเบิกกรณีรักษามะเร็ง - ระบบลงทะเบียน (Cancer Payment Register:CPR) - การบันทึกเบิกในโปรแกรม e-Claim ยกเลิกการคีย์รหัสเบิก โดยให้คีย์ เป็นรหัสยามะเร็ง 4. การรับข้อมูลเบิกชดเชยค่าบริการของสิทธิประกันสังคม ทั้ง 2 phase

7 สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การจ่ายเงินชดเชย สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ สำหรับ รพ.นอกเหนือ 168 แห่ง สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

8 ภาพรวมการจัดส่งข้อมูลเพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงินผ่านระบบ National Clearing House
การส่งข้อมูล OP IP การประมวลผล รอบการประมวลผล รอบการออก statement การส่งข้อมูลเข้า GFMIS การตรวจสอบสิทธิ การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง รอบการขึ้นสิทธิ โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง Nhso client e-Claim Help desk สาขาเขต

9 การใช้โปรแกรมของสิทธิสวัสดิการ ข้าราชการ(ยกเว้น168 แห่ง)
กรณี โปรแกรม ลงทะเบียนจ่ายตรง NHSO Client ขอเลขอนุมัติผู้ป่วยในและ OPAE ขออนุมัติยามะเร็ง 6 ชนิด รูมาติก และ สะเก็ดเงิน 1. ขออนุมัติจากหน้าเวบ e-Claim >>Prior authorization 2. บันทึกเบิกในโปรแกรม e-Claim การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยนอก โปรแกรม e-Claim การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยใน การเบิกกรณีจ่ายเพิ่มเติม เช่น ค่าพาหนะ ค่าห้องค่าอาหาร รายการอุปกรณ์ เ ยา จ.2 IVIG ATG ,ยา Thrombolytic drug โปรแกรม e-Claim ( Local code) เบิกฟันเทียม / ตรวจสุขภาพประจำปี ยา Glucosamine ใบเสร็จ สิทธิข้าราชการกรณีอื่นๆ เช่น รพ.เอกชนรักษารังสีรักษา และ Elective Case และล้างไต ยังคงเป็นระบบเดิม

10 ขั้นตอนการดำเนินงานเบิกสิทธิข้าราชการ
หน่วยบริการ สปสช. กรมบัญชีกลาง หน่วยบริการส่งข้อมูล เพื่อการชดเชย สปสช.ประมวลผล ออก REP จ, พ, ศ ออก Statement OP ทุก 15 วัน IP ทุกสิ้นเดือน (2 วันทำการ) หน่วยบริการตรวจสอบข้อมูล พิมพ์ใบขอเบิกให้ผอ.เซ็นต์ เปิดให้ รพ.ตรวจสอบข้อมูลจัดทำใบขอเบิก (4 วันทำการ) ตรวจสอบใบคำขอเบิก (5 วันทำการ) แก้ไขใบขอเบิก ไม่ผ่าน ผ่าน ปิดงวดเพื่อรอส่ง GF ก/ช กลาง ตามรอบ -OP ส่งได้สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทุกวันพฤหัสบดี -IP ส่งได้เดือนละ 1 ครั้ง สัปดาห์สุดท้ายของเดือน หน่วยบริการ ได้รับเงินโอนจาก ก/ช กลาง ก/ช กลาง แจ้งหนังสือโอนเงิน

11 การจ่ายชดเชยปี 2557 (ต.ค.56- 26 ส.ค.57)
ประเภท ข้อมูลการเบิกจ่าย สิทธิสวัสดิการข้าราชการ กลุ่มรพ.นอก168แห่ง ADM PID HOSP ADJRW ยอดจ่ายรวม ร้อยละ OP 6,167,518 1,158,406 855 3,728,268,627 73 IP 149,878 109,006 819 125,280 1,387,372,859 27 รวม 6,317,396 1,179,304 858 5,115,641,485 100 Train_id of OPCS had been delete becase not found of detail data หมายเหตุ: -ข้อมูลจากฐานข้อมูล statement (m_statement_nch) -ยอดจ่าย* คือ ยอดจ่ายส่วนนอกDRG+ยอดจ่ายส่วนDRG -จำนวนรพ.และจำนวนคน นับข้อมูลแบบ distinct

12 ปัญหาที่พบ และการแก้ไข
แนวทางแก้ปัญหา 1.รพ.ไม่ได้รับการจ่ายค่ายาเพิ่มเติม ; ยาเคมีบำบัด 2.รหัสยา 24 หลักในโปรแกรม ยังไม่ครบถ้วน สปสช.จะจ่ายเพิ่มให้หน่วยบริการโดยที่ไม่ต้องดำเนินการใดๆ ประมาณต้น ตค.57 3. การประมวลผลกรณี ORS ยังไม่สามารถแสดงให้ สถานพยาบาลทราบ อยู่ระหว่างการพัฒนาเงื่อนไขให้แสดงข้อมูลใน REP 4. รพ.ไม่ได้รับเงินชดเชย เนื่องจาก ข้อมูลติด C ตรวจสอบข้อมูลติด C ของทุก รพ.เพื่อวิเคราะห์ปัญหา และแก้ไขทั้งระบบ 5. การออก Statement ไม่ตรงรอบที่กำหนด ปัจจุบันทันเวลาเป็นส่วนใหญ่ บางงวดช้าไม่เกิน 1 วัน ** มีการปรับรอบ Stm ให้ตัดรอบทุกวันที่ 20 ของเดือน เริ่ม สค.57 6. การดำเนินการของ รพ.ในการเข้าร่วมระบบเบิกจ่ายตรง ประสานงานกรมบัญชีกลาง และแจ้งขั้นตอนการดำเนินการของ รพ.ในการสมัครเข้าร่วมโครงการเบิกจ่ายตรง ใน web e-Claim

13 ปัญหาที่พบ และการแก้ไข
แนวทางแก้ปัญหา 6. การดำเนินการของ ร.พ.ในการเข้าร่วมระบบเบิกจ่ายตรง ประสานงานกรมบัญชีกลาง และแจ้งขั้นตอนการดำเนินการของ รพ.ในการสมัครเข้าร่วมโครงการเบิกจ่ายตรง ใน web e-Claim 7. การจัดทำใบคำขอเบิก - ใบคำขอเบิกที่ไม่ผ่านการตรวจสอบมีข้อความแจ้งสาเหตุไม่ชัดเจน ปรับข้อความในการสื่อสารแจ้งสถานพยาบาล - พบความคลาดเคลื่อนของรูปแบบตัวอักษรในใบคำขอเบิกไม่เป็นไปตามคำสั่งพิมพ์ ปรับรูปแบบตัวอักษร และพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีมาตรฐานและมีความแม่นยำในการแสดงข้อมูล - ร.พ.ไม่สามารถพิมพ์คำขอเบิกจากโปรแกรมได้ แนะนำขั้นตอนการพิมพ์ใบคำขอเบิกและแนะนำให้ทำการดาวน์โหลดคู่มือใบคำขอเบิก ในระบบโปรแกรม e-Claim online -หนังสือแจ้งการโอนเงินไม่สามารถแสดงผลได้ตามรอบที่ส่งเบิก ตรวจสอบการแจ้งการโอนเงินกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

14 การจัดระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของผู้บริหารท้องถิ่น/พนักงานส่วนท้องถิ่น

15 ระบบ เพื่อ รองรับการดำเนินงาน
ระบบลงทะเบียนผู้มีสิทธิ ระบบการลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง ระบบการจ่ายเงิน กรณีเบิกจ่ายตรง และ สำรองจ่ายตามใบเสร็จ ระบบข้อมูลเพื่อการติดตามกำกับติดตาม และประเมินผล ระบบคุ้มครองสิทธิ ผู้มีสิทธิ ระบบช่วยเหลือ (Help desk)

16 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินสวัสดิการรักษาพยาบาล ของพนักงานส่วนท้องถิ่น ปี ๒๕๕๗
ผู้มีสิทธิ : หมายถึง ข้าราชการ, ข้าราชการการเมือง ได้แก่ ๑. นายกเทศมนตรี ๒. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ๓. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ๔. พนักงานเทศบาล ๕. พนักงานส่วนท้องถิ่น ๖. ผู้รับบำนาญ ๗. ลูกจ้างประจำและข้าราชการครูที่รับถ่ายโอน ๘. ครูผู้แลเด็กหรือครูผู้ช่วยเฉพาะกรณีที่เป็น ลูกจ้างประจำ ที่ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง ยกเว้น กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา

17 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินสวัสดิการรักษาพยาบาล
บุคคลในครอบครัว หมายความว่า บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือบรรลุนิติภาวะแล้วแต่เป็นคนไร้ ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ แต่ ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือ บุตรที่ยกให้เป็น บุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นแล้ว คู่สมรส บิดาหรือมารดา อิสลาม มีเมีย สี่คน ทุกคนเป็นตามกฎหมาย ในสี่จังหวัด ให้พนักงานส่วนท้องถิ่น มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสำหรับตนเองและบุคคลในครอบครัวของตนตามระเบียบนี้

18 ขั้นตอนการลงทะเบียนผู้มีสิทธิ
บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถยื่น หลักฐานแสดงการเป็นผู้มีสิทธิและผู้มีสิทธิร่วมต่อ เจ้าหน้าที่ทะเบียนของหน่วยเบิกที่ตนเองสังกัด เจ้าหน้าที่ทะเบียนจะทำการตรวจสอบหลักฐาน และทำการบันทึกข้อมูลผู้มีสิทธิในโปรแกรมระบบ ทะเบียนบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ต้องผ่านการอนุมัติโดยนายทะเบียน ข้อมูลผู้มี สิทธิรายใหม่จะถูกประมวลผลและแจ้งผลกลับ ภายในวันเดียวกับวันที่บันทึก (วันละ 2 รอบเวลา 12 และ 16 นาฬิกา) เมื่อข้อมูลผ่านการยืนยันผลการตรวจสอบแล้ว ผู้มี สิทธิและผู้ใช้สิทธิร่วมจะสามารถไปใช้บริการการ รักษาพยาบาล ณ หน่วยบริการของรัฐ และขอ ลงทะเบียนจ่ายตรงต่อไปได้ ในกรณีที่หลักฐานประกอบซึ่งเป็นเอกสารทาง ราชการยังไม่เรียบร้อย ผู้มีสิทธิจะต้องดำเนินการ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงจะสามารถใช้สิทธิได้

19 ขั้นตอนการแต่งตั้ง จนท./นายทะเบียน อปท.
สปสช (ทะเบียน) แจ้งขั้นตอน รวบรวมรายชื่อจนท/นายทะเบียน ประสาน อปท พื้นที่ ตรวจสอบข้อมูล กำหนด US/PW สปสช เขต ตรวจสอบและแต่งตั้ง สถ แจ้งหน่วยงาน อปท แจ้งเวียนประกาศ ใช้งาน รับทราบประกาศ อปท แจ้งข้อมูลจนท/นายทะเบียน

20 ขั้นตอนการลงทะเบียนผู้มีสิทธิ
นำหลักฐานยื่นต่อนายทะเบียนหน่วยเบิก ตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ของหลักฐาน เมื่อบันทึกผ่านเรียบร้อย เว็บลงทะเบียนอปท. สิทธิจะเกิดทันที ในวันนั้น หน่วยบริการจะเห็นข้อมูล ปรากฎบนเว็บไซต์สปสช.

21 หน้าจอการตรวจสอบสิทธิที่โรงพยาบาล

22 การใช้สิทธิเมื่อเข้ารับการรักษา
2 การใช้สิทธิเมื่อเข้ารับการรักษา

23 การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
ลงทะเบียนสิทธิ กับนายทะเบียนที่ อปท.ต้นสังกัด ฐานทะเบียน สปสช. ทะเบียนบ้าน ทะเบียนสมรส ใบรับรองบุตร มีชื่อในทะเบียน ผู้มีสิทธิ มี ไม่มี ตรวจสอบ ฐานทะเบียนสิทธิ ลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง ที่โรงพยาบาลของรัฐ บัตรประจำตัวประชาชน สูติบัตร (กรณีเด็กอายุต่ำกว่า 7 ปี)

24 การขอเลขอนุมัติเมื่อเข้ารับการรักษา
รพ.ทำหน้าที่ขอเลขอนุมัติแทนผู้มีสิทธิทุกครั้ง เมื่อเข้ารับการรักษาใน 3 กรณีนี้ คือ กรณี อุบัติเหตุฉุกเฉิน นอกรพ.ที่เคยทำเบิกจ่าย ตรง กรณีผู้ป่วยในทุกครั้ง กรณีที่มีสิทธิอปท.บนเว็บตรวจสอบสิทธิ ของสปสช. แต่ยังไม่ได้สิทธิลงทะเบียนเบิกจ่าย ตรง ณ รพ.นั้น ทั้งนี้ เพื่อลดภาระในการที่ผู้มีสิทธิต้องเสียเวลาไป ทำเรื่องเบิกจ่ายตรงหลายๆรพ.โดยไม่จำเป็น แต่ ควรแนะนำให้เลือกลงทะเบียนจ่ายตรงในรพ.ที่ ใกล้บ้าน

25 การเข้าใช้สิทธิ อปท.ในโรงพยาบาล
กรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน 1.ใช้บริการในรพ.รัฐ 2.มีสิทธิอปท.ในฐานทะเบียน 3.ไม่ลงทะเบียนจ่ายตรง (ไม่จำเป็นต้องลงทะเบียนใหม่ รพ.สามารถขอเลขอนุมัติจาก สปสช.ได้) กรณีจ่ายตรง 1.ใช้บริการในรพ. รัฐ 2.มีสิทธิอปท.ใน ฐานทะเบียน 3.ลงทะเบียนจ่าย ตรง - รายเก่า (ลงทะเบียน แล้ว) - รายใหม่หรือ รักษาใน รพ.ใหม่ต้อง ลงทะเบียนใหม่ กรณีสำรองจ่าย(ใบเสร็จ) 1.ใช้บริการในรพ.รัฐ 2.ใช้บริการในรพ.เอกชน กรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน 3.ไม่ลงทะเบียนจ่ายตรง 1. กรณีจ่ายตรงและอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน ไม่ต้องสำรองจ่าย เพียงแสดงบัตรประชาชน หรือบัตรที่มีเลข 13 หลัก 2. กรณีสำรองจ่าย ผู้มีสิทธิต้องนำใบเสร็จไปเบิกยังต้นสังกัด

26 การจัดระบบคุ้มครองสิทธิ
การจัดระบบให้รับรู้สิทธิ สามารถ เข้าถึงบริการ และได้รับการ คุ้มครองสิทธิเมื่อถูกปฏิเสธหรือ ถูกละเมิด การจัดระบบเมื่อมีข้อสงสัยหรือ คำถามเกี่ยวกับการลงทะเบียน วิธีการใช้บริการ การไม่สามารถ ใช้บริการได้ตามที่กำหนด หรือ ต้องการให้ข้อเสนอแนะเพื่อการ ปรับปรุงระบบและการให้บริการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา

27 การจัดระบบคุ้มครองสิทธิ
ช่องทาง สายด่วน สปสช.  1330 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา

28 การโอนเงินชดเชยค่าบริการ สวัสดิการรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น ปี 2557

29

30 การโอนเงินชดเชยค่าบริการ ฯ จังหวัดขอนแก่น
การโอนเงินชดเชยค่าบริการ ฯ จังหวัดขอนแก่น

31 การโอนเงินชดเชยค่าบริการ ฯ จังหวัดมหาสารคาม
การโอนเงินชดเชยค่าบริการ ฯ จังหวัดมหาสารคาม

32 การโอนเงินชดเชยค่าบริการ ฯ จังหวัดร้อยเอ็ด
การโอนเงินชดเชยค่าบริการ ฯ จังหวัดร้อยเอ็ด

33 การโอนเงินชดเชยค่าบริการ ฯ จังหวัดกาฬสินธุ์
การโอนเงินชดเชยค่าบริการ ฯ จังหวัดกาฬสินธุ์

34 การตรวจสอบเวชระเบียน
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มี ระบบการตรวจสอบคุณภาพการให้บริการ สาธารณสุขของสถานพยาบาล โดยการ ตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินชดเชยค่าบริการ และตรวจสอบคุณภาพการรักษาพยาบาล ตามมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อให้ พนักงานส่วนท้องถิ่นและบุคคลในครอบครัว เกิด ความมั่นใจในระบบการให้บริการสาธารณสุขที่มี คุณภาพมาตรฐาน และมีการบริหารจัดการที่ดีเพื่อให้บรรลุตาม เจตนารมณ์ของการจัดสวัสดิการรักษาพยาบาล ของพนักงานส่วนท้องถิ่น

35 การส่งข้อมูลของโรงพยาบาล ปี งบประมาณ 2557
การส่งข้อมูลสิทธิสวัสดิพนักงานส่วนท้องถิ่นและสิทธิ uc ส่งสปสช.ทั้งหมด ทุกกรณี(ทุก โปรแกรม ทุกโรงพยาบาล)

36 การส่งข้อมูลของโรงพยาบาล ปี งบประมาณ 2558
การส่งข้อมูลสิทธิประกันสังคม รอประกาศดำเนินการ

37 ขอบคุณครับ webboard ของ e-Claim
Help desk NCH หมายเลขโทรศัพท์ ๐๒๑๔๒ ๓๑๐๐-๑๔ Help desk e-Claim หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๒๑๔๑ ๔๒๒๙-๓๐ webboard ของ e-Claim address : หรือ


ดาวน์โหลด ppt สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google