สถานการณ์การเมืองของไทย สถานการณ์การเมืองไทยก่อน คสช.ยึดอำนาจ
สถานการณ์การเมืองของไทย 22 พฤษภาคม 2557 เวลา 16.30 น. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) โดย พล.อ.ประยุทธ์ เป็นหัวหน้าคณะได้ทำการรัฐประหารครั้งที่ 13 ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เพราะการเจรจา 7 ฝายในช่วงวันที่ 21-22 พฤษภาคม ซึ่ง พล.อ.ประยุทธ์เชิญมาหารือ ประกอบด้วย ตัวแทนรัฐบาล, ตัวแทนวุฒิสภา, ตัวแทนคณะกรรมการการเลือกตั้ง, ตัวแทนพรรคเพื่อไทย, ตัวแทนพรรคประชาธิปัตย์ ,(กปปส.) และ (นปช.) ไม่สามารถหาทางออกร่วมกันได้
สถานการณ์การเมืองของไทย พล.อ.ประยุทธ์สอบถามนายชัยเกษม นิติสิริ รมว.ยุติธรรม ในฐานะหัวหน้าคณะฝ่ายรัฐบาลว่า “ตกลงรัฐบาลยืนยันไม่ลาออกทั้งรายบุคคลและทั้งคณะใช่หรือไม่” ซึ่งนายชัยเกษมตอบว่า ”นาทีนี้ไม่ลาออกและต้องการดำเนินการต่อจนกว่าจะครบวาระตามกฎหมาย” พล.อ.ประยุทธ์จึงตอบกลับว่า "หากเป็นแบบนี้ ตั้งแต่นาทีนี้ผมยึดอำนาจการปกครอง”
สถานการณ์การเมืองของไทย ศาสตราจารย์พิเศษ ชัยเกษม นิติสิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ใน รัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอัยการสูงสุด อดีตอัยการอาวุโส (ที่ปรึกษาอัยการสูงสุด) สำนักงานอัยการสูงสุด
สถานการณ์การเมืองของไทย สถานการณ์การเมืองไทยก่อน คสช.ยึดอำนาจ เกิดความแตกแยกทางความคิดด้านการเมืองในหมู่ประชาชน และนักการเมือง แต่ละกลุ่มพยายามจะเอาแพ้เอาชนะซึ่งกันและกัน จึงเกิดฝูงชน ม๊อบกลุ่มต่างๆ เช่น กปปส. นปช. ต่างระดมคนเข้าไปชุมนุมใน กทม. สร้างปัญหาด้านการจลาจล ฯลฯ
สถานการณ์การเมืองของไทย นักการเมืองฝ่ายค้านเปิดอภิปรายไม่ไว้ว่างใจรัฐบาลทั้งคณะ เกิดความวุ่นวายในสภาผู้แทนราษฎรทำให้นายกยิ่งลักษณ์ ประกาศยุบสภา และลาออก ให้รองนายก นายนิวัติธำรง บุญทรงไพศาล รักษาการ จนในที่สุดคณะ คสช. เข้ายึกอำนาจรัฐบาล เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557
สถานการณ์การเมืองของไทย
สถานการณ์การเมืองของไทย การบ้าน 5 ข้อสะท้อนสถานการณ์การเมืองไทยก่อน คสช. ยึดอำนาจ 1.ปฏิรูปก่อน หรือเลือกตั้งก่อน เกิดกระแสการเมืองว่าประเทศไทยควรปฏิรูปการเมืองก่อน หรือเลือกตั้งก่อนแล้วค่อยปฏิรูปการเมือง ซึ่งหาข้อยุติไม่ได้ ควรไปให้ประชาชนทำประชามติหรือไม่ในเรื่องนี้
สถานการณ์การเมืองของไทย 3.การตั้งนายกคนกลาง โดยยึดกรอบกฎหมาย สามารถทำได้หรือไม่ ถ้าประเทศถึงทางตัน คือสภาก็ไม่มี การเลือกตั้งก็ยังไม่ได้ดำเนินการ รัฐบาลก็เป็นรัฐบาลรักษาการ สามารถทำเรื่องนี้ได้หรือไม่ (นายกพระราชทาน) มาตรา 7 ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใดให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สถานการณ์การเมืองของไทย 3.การตั้งรัฐบาลเฉพาะการ โดยวุฒิสภา ได้หรือไม่ เนื่องจากยุบสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภาเสนอตั้งรัฐบาลเฉพาะการได้หรือไม่ 4. ให้ กปปส. และ นปช. ยุติการชุมนุม ประเด็นนี้ก็ทำไม่ได้ ทั้ง 2 กลุ่ม ต่างระดมคนเข้า กทม. ให้มากกว่าอีกกลุ่ม
สถานการณ์การเมืองของไทย