ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เป้าหมายการดำเนินงาน : อปท.12 แห่ง (สคร.ละ 1 แห่ง) มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงมาตรการ สำนักโรคจากจากประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 1. ถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ให้แก่ สคร. ทราบ 2. กำกับ ติดตาม รวบรวมข้อมูล สรุปผลการดำเนินงานภายใต้ตัวชี้วัดเสนอผู้บริหาร 1. ถ่ายทอดการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ให้แก่ สสจ. และ อปท. ทราบ 2. ประสาน สสจ. และ อปท. เพื่อเลือก อปท. ต้นแบบอย่างน้อย สคร. ละ 1 แห่ง 3. ส่งแบบ “อปท.1” ให้สำนัก EnvOcc. ภายใน 20 ธ.ค. 2559 4.รายงานผลการประเมินตาม “อปท.2” ของ อปท. ภายใน 20 ก.ย. 2560 1. เข้าร่วมรับฟังแนวทางการดำเนินงานจาก สคร. 2. ร่วมประสาน กำกับ ติดตามการดำเนินงานของ อปท. 3. ร่วมตรวจประเมินตามเกณฑ์วัดระดับความสำเร็จการดำเนินงานของ อปท. ร่วมกับ สคร. (ตามแบบ “อปท.2”) 1. เข้าร่วมรับฟังแนวทางการดำเนินงานจาก สคร. 2. ทำการประเมินตนเองตามแบบ “อปท.2” ส่ง สคร. ภายใน 20 มี.ค. 2560 3. ดำเนินงานสร้างระบบการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ 4. ขอรับและรับการตรวจประเมินตามเกณฑ์ใน “อปท.2” โดยทีม สคร. ร่วมกับ สสจ.

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมายถึง นิยามคำสำคัญ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมายถึง ให้หมายความเฉพาะการดำเนินงานใน องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) หรือ เทศบาล หรือ สุขาภิบาล หรือ เทศบาลนคร ซึ่งไม่ให้หมายรวมถึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)

นิยามคำสำคัญ ระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง ระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง การดำเนินงานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น 1. มีข้อมูลพื้นฐานความเสี่ยงเกี่ยวกับมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ สถานการณ์ปัญหามลพิษที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 2. มีการติดตามเฝ้าระวังมลพิษสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง 3. มีการจัดการ กำหนดมาตรการเพื่อแก้ไขที่แหล่งกำเนิดมลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น การออกนโยบาย ข้อกำหนดต่างๆ หรือ บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรูปแบบคณะทำงาน เพื่อแก้ไขปัญหา 4. มีการเฝ้าระวัง ติดตาม ดูแลสุขภาพประชาชน เช่น การสนับสนุน/ร่วมดำเนินการ คัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงร่วมกับหน่วยบริการสาธารณสุข การจัดสรรงบประมาณในการดูแลสุขภาพประชาชน 5. การสื่อสารความเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

Flow chart การดำเนินงาน สำนักฯ พัฒนาแนวทาง อปท. จัดการปัญหาสุขภาพสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ถ่ายทอดพัฒนา รูปแบบ Model แนวทาง การดำเนินงาน แบบฟอร์ม สำรวจ/วิเคราะห์ความเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน แบบรายงานสรุปผลการดำเนินงาน สนับสนุน ติดตาม ประเมินผล สคร. ถ่ายทอดรูปแบบการดำเนินงานให้กับ สสจ. และ อปท. ในพื้นที่ คัดเลือก อปท.ต้นแบบ สนับสนุน ติดตามประเมินผล สคร. รายงานผลการดำเนินงาน สำนัก รวบรมสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวม

แบบ อปท.1 แบบแจ้งข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม แบบ “อปท.1” ให้ สคร. ประสาน สสจ. และ อปท. ในการเลือก อปท. ต้นแบบ (สคร.ละอย่างน้อย 1 อปท.) สคร. ส่งแบบ “อปท.1” ถึงสำนัก EnvOcc ภายใน 20 ธันวาคม 2559

แบบ อปท.2 เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม แบบ “อปท.2” ให้ อปท. ประเมินตนเอง ส่ง สคร. ภายใน 20 มีนาคม 2560 สคร. ร่วมกับ สสจ. ลงประเมิน อปท. ตามเกณฑ์ประเมินฯ

เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพ จากมลพิษสิ่งแวดล้อม ตามแบบ อปท.2 มีเกณฑ์ประเมินทั้งหมด 10 ข้อ แนวทางประเมิน/วัดผล ผลการประเมิน ข้อมูล/เอกสารที่แสดง ไม่มี มี 1.ผู้บริหาร/องค์กร ให้ความสำคัญในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ 2.การมอบหมายผู้รับผิดชอบงานการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ 3.การจัดทำแผนงาน โครงการดูแลสุขภาพบุคลากรและประชาชนในพื้นที่ 4.การสนับสนุนและจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดูแลสุขภาพบุคลากรและประชาชนในพื้นที่ ที่เป็นรูปธรรมและมีความต่อเนื่อง 5.ข้อมูลแหล่งสิ่งคุกคามและประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพ จากมลพิษสิ่งแวดล้อม ตามแบบ อปท.2 (ต่อ) แนวทางประเมิน/วัดผล ผลการประเมิน ข้อมูล/เอกสารที่แสดง ไม่มี มี 6.การประสาน/สนับสนุน/ร่วมการดำเนินงานการคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพร่วมกับหน่วยบริการสาธารณสุขพื้นที่ 7.ร่วมและสนับสนุนการสื่อสารความเสี่ยงและให้ความรู้เกี่ยวกับมลพิษสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน 8.การออกข้อกำหนด/เทศบัญญัติ/มาตรการ เพื่อจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ 9.การบูรณาการการดำเนินงานในรูปแบบต่างๆ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน 10.ผลงานการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ที่เป็นรูปธรรม

สรุปผลการประเมิน/วัดระดับความสำเร็จ : เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพ จากมลพิษสิ่งแวดล้อม ตามแบบ อปท.2 (ต่อ) สรุปผลการประเมิน/วัดระดับความสำเร็จ : ไม่มีระบบ/ยังไม่มีการพัฒนาระบบฯ ที่ชัดเจน คือ มีผลการประเมินมีผล “ไม่มี” ทุกข้อ มีระบบขั้นพื้นฐาน คือ มีผลการประเมินมีผล “มี” อย่างน้อย 5 ข้อ โดยต้อง “มี” ในข้อ 1-5 มีระบบขั้นดี คือ มีผลการประเมินมีผล “มี” อย่างน้อย 7 ข้อ โดยต้อง “มี” ในข้อ 1-8 มีระบบขั้นดีมาก คือ มีผลการประเมินมีผล “มี” ทุกข้อ อปท.จะถือได้ว่ามีการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพฯ เมื่อ : อปท. มีผลการประเมินตามแบบ “อปท.2 เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม” ผ่านตามเกณฑ์ ที่กำหนด “มีระบบขั้นพื้นฐาน” ขึ้นไป

การวัดและการติดตามผล ปีงบประมาณ 2560 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน การถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานให้แก่ อปท.รับทราบ - สคร. เลือก อปท. ต้นแบบและส่งข้อมูลตามแบบ “อปท.1” สคร.ลงพื้นที่ทำการสนับสนุน ติดตามการดำเนินงานพัฒนาระบบการดูสุขภาพประชาชนฯ - อปท. ทำการประเมินตนเองตามแบบ “อปท.2” อปท.ดำเนินการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพประชาชนฯ ตามแนวทาง/แผนงานที่กำหนด - สคร.ทำการสนับสนุน/ติดตาม/ประเมินผลเชิงประจักษ์ตามแบบ “อปท.2” สคร.ทำการสนับสนุน/ติดตาม/ประเมินผลเชิงประจักษ์ตามแบบ “อปท.2” ได้ผลการประเมินเชิงประจักษ์ ตามแบบ อปท.2 ครบทั้ง 12 อปท. - สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ รวบรวมข้อมูลการประเมินเชิงประจักษ์ สรุปรายงานผลเสนอผู้บริหารรับทราบ

การคำนวณและการวัดผล คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 10 11 12 13 14 จำนวน อปท. เป้าหมาย (แห่ง) 10 11 12 13 14 เกณฑ์ระดับ สคร. 1 2 3

Thank you. ถาม-ตอบ