สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๘ การสหกรณ์ สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๘
การดำเนินธุรกิจรูปแบบสหกรณ์ นำไปสู่ การกินดี อยู่ดี มีสันติสุขของสมาชิก
ทำไมต้องมีสหกรณ์ รายจ่ายเพิ่ม รายได้เท่าเดิม รายจ่ายเพิ่ม รายได้เท่าเดิม เร่งการผลิต จากผลิตพออยู่พอกิน เป็นผลิตเพื่อขาย ปุ๋ย ยา พันธ์ เครื่องจักร ค่าจ้าง ค่าแรง แพงทุกแนว ขาดการลงทุนในปัจจัยการผลิต เพราะเข้าไม่ถึงทุน กู้เงินดอกแพง ชีวิตตกเป็นของนายทุน ผลิตได้มากขึ้น แต่ราคาขายกลับสวนทางกัน
นิยาม สหกรณ์ เป็นองค์การ คณะบุคคลซึ่งรวมตัวกันโดยสมัครใจ นิยาม สหกรณ์ เป็นองค์การ คณะบุคคลซึ่งรวมตัวกันโดยสมัครใจ เพื่อทำธุรกิจที่ตนเป็นเจ้าของร่วม โดยให้เกิดความยุติธรรมและความเสมอภาค
วงจรธุรกิจสหกรณ์การเกษตร
หน้าที่การจัดหาปัจจัยการผลิตแก่สมาชิก
หน้าที่ในการจัดหาตลาดเพื่อรองรับผลิตผลการเกษตร
อุดมการณ์สหกรณ์ หมายถึง แนวความคิดความเชื่อว่า หมายถึง แนวความคิดความเชื่อว่า วิธีการสหกรณ์จะแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ และสังคมของมวลสมาชิก ให้มีความอยู่ดี กินดี และมีสันติสุข โดยการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน
การช่วยตนเอง หมายถึง ขยัน ประหยัด พัฒนาตน หลีกพ้นอบาย
การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การเสียสละเพื่อส่วนร่วม ร่วมใจพัฒนา การซื่อตรงต่อกติกา มีเมตตารักใคร่กัน
หลักการสหกรณ์ หลักการข้อที่ 1 การเข้าเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง หลักการข้อที่ 1 การเข้าเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง หลักการข้อที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย หลักการข้อที่ 3 การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก หลักการข้อที่ 4 การปกครองตนเองและเป็นอิสระ หลักการข้อที่ 5 การให้การศึกษาอบรมและสารสนเทศ หลักการข้อที่ 6 การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ หลักการข้อที่ 7 ความเอื้ออาทรต่อชุมชน
หลักการสหกรณ์ข้อที่ 1 เปิดรับสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง หลักการสหกรณ์ข้อที่ 1 เปิดรับสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง อาศัยความศรัทธา(ความเชื่อ)ของแต่ละบุคคล 1 อาศัยความอิสระภาพ(การไม่ถูกควบคุมและกีดกัน) 2 อาศัยความมีเสรีภาพ(การได้แสดงความคิด) 3 ไม่มีการกีดกั้นฐานะทางสังคม การเมือง ศาสนาและเพศ
หลักความเชื่อในการทำงานร่วมกันแบบสหกรณ์ คน เป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุดขององค์การสหกรณ์ โดยมารวมกันในฐานะมนุษย์ มีศักยภาพ ที่ ไม่มีสิ้นสุด สมาชิกทุกคนต้องการการยอมรับ ถ้ามีการให้โอกาส การรวมกลุ่มกันก็จะ ช่วยสร้างพลังในการแก้ปัญหาได้ดี
หลักการสหกรณ์ข้อที่ 2 ควบคุมโดยหลักประชาธิปไตย หลักการสหกรณ์ข้อที่ 2 ควบคุมโดยหลักประชาธิปไตย 1 อาศัยความเสมอภาค ยึดหลักการรวมคนไม่ใช่รวมทุน การตัดสินใจด้วยเสียงส่วนใหญ่ คุ้มครองเสียงข้างน้อย 2 เกิดความเสมอภาค มีสิทธิเท่าทียมกันในการแสดงออก ด้านการบริหารและการควบคุมภายใน
บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในสหกรณ์
หลักการสหกรณ์ข้อที่ 3 การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก หลักการสหกรณ์ข้อที่ 3 การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก มีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของสหกรณ์โดย การถือหุ้นและรับเงินปันผล 1 มีส่วนร่วมในการเป็นผู้ใช้บริการของสหกรณ์ โดยได้รับเงินเฉลี่ยคืนตามส่วนการทำธุรกิจ 2 โดยมีส่วนร่วมในการรับและจัดสรรผลประโยชน์อันเกิดจากการดำเนินงาน
การจัดสรรกำไรสุทธิของสหกรณ์ 1. เป็นทุนสำรอง (> 10%) 2. ค่าบำรุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย 3.จ่ายเป็นเงินปันผลตามหุ้นที่ชำระแล้ว 4. จ่ายเป็นเงินเฉลี่ยคืนแก่สมาชิกตามส่วนธุรกิจ 5. จ่ายเป็นเงินโบนัสแก่กรรมการและเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ 6. จ่ายเป็นทุนสะสมไว้ เพื่อดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดของ สหกรณ์ เช่น ทุนรับโอนหุ้น ทุนขยายงานสหกรณ์ ทุนสวัสดิการ ทุนสาธารณะประโยชน์ ทุนการศึกษาอบรม ฯลฯ (พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา 60)
เจ้าของ ผู้บริหาร ลูกค้า เป็นบุคคลเดียวกัน
ส่วนของผู้ใช้บริการ เงินปันผล ส่วนความเป็นเจ้าของ (ถือหุ้น) ส่วนความเป็นเจ้าของ (ถือหุ้น) ส่วนของผู้ใช้บริการ เงินเฉลี่ยคืนตามส่วนธุรกิจ
หลักการสหกรณ์ข้อที่ 4 การปกครองตนเองและอิสระ หลักการสหกรณ์ข้อที่ 4 การปกครองตนเองและอิสระ อาศัยการพึ่งพาตนเองเป็นหลัก 1 อาศัยความมีอิสระภาพในการตัดสินใจ 2 อาศัยความนิติธรรม 3 การทำข้อตกลง ผูกพันหรือนิติกรรมสัญญาใด ต้องธำรงไว้ซึ่งอำนาจ ในการบริหารของสหกรณ์ที่มาจากมวลสมาชิก
โครงสร้างของสหกรณ์ คณะกรรมการดำเนินงาน 1 ผู้ตรวจสอบกิจการ ที่ประชุมใหญ่ เลือกตั้ง 2 แต่งตั้ง จัดจ้าง ผู้ตรวจสอบภายใน คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการดำเนินงาน 3 ผู้จัดการ เจ้าหน้าที่สหกรณ์
หลักการสหกรณ์ข้อที่ 5 การให้การศึกษาอบรมและข่าวสาร หลักการสหกรณ์ข้อที่ 5 การให้การศึกษาอบรมและข่าวสาร สร้างกระบวนการเรียนรู้และ ให้การศึกษาอบรมอย่างต่อเนื่อง 1 อาศัยการประชาสัมพันธ์ 2 เกิดการเรียนรู้ประโยชน์ของสหกรณ์ สู่การมีสิทธิและหน้าที่ มีการแพร่ข่าวสารการอาชีพได้อย่างทันเหตุการณ์
วิธีการให้การศึกษา อบรม และข่าวสาร วิธีการให้การศึกษา อบรม และข่าวสาร จัดประชุม กลุ่มศึกษา จัดกิจกรรมในสถานศึกษา จัดนิทรรศการ สัมมนาในวันหยุด การเข้าสู่ชุมชนแบบเคลื่อนที่ จัดอบรมหลักสูตรทางไกล แจกเอกสารเผยแพร่ หนังสือพิมพ์ วารสาร เสียงตามสาย วิทยุโทรทัศน์ ผ่านคอมพิวเตอร์
การร่วมมือกันระหว่างสหกรณ์ หลักการสหกรณ์ข้อที่ 6 การร่วมมือกันระหว่างสหกรณ์ อาศัยหลักการร่วมกันเพื่อให้เกิดเครือข่ายพันธมิตรธุรกิจ 1 เป็นการสร้างขบวนการให้เกิดความเข้มแข็งในระดับรากหญ้า 2 เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสหกรณ์ในระดับอำเภอ จังหวัดจน ถึงประเทศและนานาชาติ
เอื้ออาทรต่อชุมชน หลักการสหกรณ์ข้อที่ 7 หลักการสหกรณ์ข้อที่ 7 เอื้ออาทรต่อชุมชน อาศัยความเมตตา เกื้อกูลสังคมรายรอบ 1 อาศัยความภราดรภาพ(การอยู่รวมกันอย่างสันติ) 2 เกิดความศรัทธาเชื่อยึดมั่นทำให้สหกรณ์เกิดความยั่งยืน
วิธีการสหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจ -ซื่อสัตย์ -กาย -ความคิด -เสียสละ -ทรัพย์ -สามัคคี -มีวินัย
เป้าหมายแห่งความสำเร็จของสหกรณ์ การเป็นอิสระสามารถพึ่งตนเอง นำไปสู่ การกินดี อยู่ดี มีสันติสุขของสมาชิก
วางแผนร่วม กำหนดเป้าหมาย วิเคราะห์ ตรวจสอบตามภารกิจ ความสัมพันธ์และสายการบังคับบัญชาภายในจังหวัด สกจ. วางแผนร่วม กำหนดเป้าหมาย วิเคราะห์ ตรวจสอบตามภารกิจ กำหนดแผนงาน กำกับติดตาม ตรวจสอบประเมินผล แก้ไขปัญหา จัดตั้ง ธุรกิจ ระบบ การจัดการ ฝึกอบรม Mobile ปฏิบัติการส่งเสริมแนะนำ ถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ประสานถ่ายทอดเทคโนฯ แฟ้มสหกรณ์ ขอคำปรึกษา ขอความช่วยเหลือ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิก
การทำงานร่วมกัน การทำงานร่วมกันนี้ลึกซึ้งมาก สหกรณ์ แปลว่า การทำงานร่วมกัน การทำงานร่วมกันนี้ลึกซึ้งมาก เพราะว่าจะต้องร่วมมือกันทุกด้าน ทั้งในด้านงานการที่ทำด้วยร่างกาย ทั้งในด้านงานการที่ทำด้วยสมอง และงานการที่ทำด้วยใจ ทุกอย่างนี้ ขาดไม่ได้ต้องพร้อม พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ณ ศาลาดุสิดาลัย 11 พฤษภาคม 2547
ต่างกันใช้กันได้ ครกกับสากต่างกันด้วยสัณฐาน แต่ทำงานสร้างสรรค์ร่วมกันได้ มีดกับเขียงรูปร่างต่างกันไกล แต่ก็ใช้คู่กันทุกวันคืน ค้อนเหล็กไม่เหมือนหมู่ตาปูแหลม ตอกแต้มเติมสร้างทุกอย่างลื่น กระดาษขาวปากกาดำไม่กล้ำกลืน ยังหยัดยืนเกื้อกูลสร้างแม้ต่างกัน
สหสัมพันธ์ในวงสหกรณ์ บริการ เกษตร นิคม ประมง ร้านสหกรณ์ ออมทรัพย์