ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม 2560

ประเด็นการพิจารณา 1 2 3 ลักษณะสำคัญขององค์กร ตัวชี้วัดหมวด 7 ปฏิทินการดำเนินงาน ปี 2561

PMQA - Time line แจ้งผลการตรวจประเมินรอบที่ 1 ส่ง Application Report แจ้งผลการตรวจประเมินรอบที่ 2 ภายใน 16 ม.ค. ตรวจประเมินรอบที่ 3 ส่งเอกสารสมัครขอรับรางวัล 31 มี.ค. Site Visit ประกาศผลการพิจารณารางวัล 2017 2018 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. พ.ค. มิ.ย. ส.ค. ก.ย. จัดทำ OP (ลักษณะสำคัญองค์การ)+พิจารณาตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1 วัน 11 ต.ค. 60 พัฒนาศักยภาพการเขียน AR (ทีมเขียน) + อ.กิตติณัฐ 1 วัน 6 พ.ย. 60 คัดเลือกตัวชี้วัดหมวด 7 วางแผนการพัฒนาเพื่อปรับปรุงผลการดำเนินงานการส่งผลงานเพื่อขอรับรางวัล + อ.กิตติณัฐ 2 วัน 14-15 พ.ย.60 3 วัน 15 ธ.ค. 60 นำเสนอการเขียน AR รายหมวด (2,4,5) ครั้งที่ 1 นำเสนอการเขียน AR รายหมวด (2,4,5) ครั้งที่ 2 2017 19 ม.ค. 60 16 ก.พ. 60 นำเสนอการเขียน AR รายหมวด (2,4,5) ครั้งที่ 3 + อ.กิตติณัฐ Today 28 ก.พ.-2 มี.ค.60 3 วัน ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเขียน AR + อ.กิตติณัฐ วิพากย์ AR รอบสุดท้าย

วิสัยทัศน์ องค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาล* ระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพประชาชน พันธกิจ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบสส.และอวล. โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือ และกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน เป้าหมาย : ประชาชนสุขภาพดี ภาคีและเจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบอนามัยยั่งยืน (ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) สมรรถนะหลักกรมอนามัย ความเชี่ยวชาญด้านระบบสส.และอวล. คือ A2IM A: Assessment A : Advocacy I : Investment M : Management การเป็นPolicy Maker + Innovator & Researcher และมีกลยุทธ์สำคัญในการบรรลุผล “PIRAB” P : Partnership I : Invest R : Regulate & legislate B : building capacity วัฒนธรรมองค์กร/ค่านิยม “HEALTH” H : Health A : Achievement T : Trust E : Ethic L: Learning H : Harmony “MOPH” M : Mastery O : Originality P : People Centered H : Humility องค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม

ประเด็นชวนคิด ชวนคุย ส่วน ภูมิภาค ส่วนกลาง จุดยืนกรมอนามัย National Lead   จุดยืนกรมอนามัย Regional Lead กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาล* ระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพประชาชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบสส. และอวล. โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือ และกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อ การดำเนินงาน

ประเด็นชวนคิด ชวนคุย 1 สมรรถนะหลักกรมอนามัย ความเชี่ยวชาญด้านระบบสส.และอวล. คือ A2IM A: Assessment A : Advocacy I : Investment M : Management การเป็นPolicy Maker + Innovator & Researcher และมีกลยุทธ์สำคัญในการบรรลุผล “PIRAB” P : Partnership I : Invest R : Regulate & legislate B : building capacity

(เรียงตามลำดับความสำคัญ) ในการส่งมอบสินค้า/บริการ 2 3 หน้าที่ตามกฎหมาย (เรียงตามลำดับความสำคัญ) สินค้า/บริการ กลไก/วิธีการ ในการส่งมอบสินค้า/บริการ 1. กําหนดและพัฒนานโยบายยุทธศาสตร์และแผนงานหลักด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ -นโยบาย ยุทธศาสตร์ -แผนงาน กลไก : ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข วิธีการ : จัดทำเป็นข้อเสนอเชิง นโยบาย/แผน/ยุทธศาสตร์ 2. ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีการบริการส่งเสริมสุขภาพการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพและการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมรวมทั้งการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ องค์ความรู้/นวัตกรรม/ผลงานวิจัย ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กลไก : สสจ.รพศ. รพท. รพช.อปท. ประชารัฐ วิธีการ :ประชุม อบรม สัมมนา จัดทำ เป็นคู่มือ สื่อ electronics และสื่อ online ตลอดจน social media 3. กําหนดและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานและกฎเกณฑ์ รวมทั้งการรับรองมาตรฐานการบริการ ส่งเสริมสุขภาพและการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน และแนวทางการดำเนินด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กลไก: สสจ.รพศ. รพท. รพช. อปท.ประชารัฐ วิธีการ : ประชุม อบรม สัมมนา จัดทำเป็นคู่มือ สื่อelectronics และสื่อ online ตลอดจน social media เอกสารหน้า 1 -2

(เรียงตามลำดับความสำคัญ) ในการส่งมอบสินค้า/บริการ 2 3 หน้าที่ตามกฎหมาย (เรียงตามลำดับความสำคัญ) สินค้า/บริการ กลไก/วิธีการ ในการส่งมอบสินค้า/บริการ 4. พัฒนาระบบกลไกและดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง และคำแนะนำของคณะกรรมการสาธารณสุข กลไก :อนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(อสธจ.) อปท. ประชารัฐ วิธีการ :ประชุม อบรม สัมมนา จัดทำคู่มือ และสื่อ online ตลอดจน social media 5. พัฒนาระบบและกลไกเครือข่ายในการเฝ้าระวังสถานะทางสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพและสภาพแวดล้อมรวมทั้งการพัฒนาระบบประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระดับชาติระดับท้องถิ่นระดับโครงการหรือกิจกรรม ระบบการเฝ้าระวัง/ข้อมูลในการเฝ้าระวัง กลไก :สสจ.รพศ. รพท. รพช.อปท.ประชารัฐ วิธีการ :ประชุม อบรม สัมมนา จัดทำเป็นคู่มือ สื่อ electronics และสื่อ online ตลอดจน social media 6. ถ่ายทอดและพัฒนาศักยภาพขีดความสามารถ และการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพการอนามัยสิ่งแวด ล้อมและการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพแก่หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคีเครือข่ายและชุมชน คู่มือ/หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพ   กลไก : สสจ.รพศ. รพท. รพช.อปท.ประชารัฐ วิธีการ :การประชุม อบรม สัมมนา ช่องทางการสื่อสารต่างๆ และสื่อ online ตลอดจน social media เอกสารหน้า 1 -2

(เรียงตามลำดับความสำคัญ) ในการส่งมอบสินค้า/บริการ 2 3 หน้าที่ตามกฎหมาย (เรียงตามลำดับความสำคัญ) สินค้า/บริการ กลไก/วิธีการ ในการส่งมอบสินค้า/บริการ 7. สร้างกระแสสังคมและรณรงค์เผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยีการส่งเสริมสุขภาพการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพการอนามัยสิ่งแวดล้อมและการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในสังคม คู่มือ แนวทาง เอกสารแผ่นพับ สื่อelectronics poster กลไก : สสจ.รพศ. รพท. รพช.อปท.ประชารัฐ วิธีการ :การรณรงค์ และสื่อ online ตลอดจน social media 8. ประสานงานร่วมมือสนับสนุนและติดตามนิเทศงานหน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นภาคีเครือข่ายรวมทั้งการประสานงานระหว่างประเทศในงานด้านการส่งเสริมสุขภาพการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพการอนามัยสิ่งแวดล้อมและการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ คู่มือ/แนวทางการดำเนินงาน กลไก :สสจ.รพศ. รพท. รพช.อปท.ประชารัฐ วิธีการ :การนิเทศติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง และสื่อ online ตลอดจน social media เอกสารหน้า 1 -2

เอกสารหน้า 5

เอกสารหน้า 5

เอกสารหน้า 7

เอกสารหน้า 7

เอกสารหน้า 7 - 8

เอกสารหน้า 8

เอกสารหน้า 9 ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

เอกสารหน้า 9

Q&A Thank You !