แนวทางการพัฒนางาน PMQA และแนวทางการประเมิน รพ.สต. คุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การใช้โปรแกรมประเมินตนเอง
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
มาตรฐานงานสุขศึกษา และการใช้โปรแกรมประเมินตนเอง
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการพัฒนางาน PMQA และแนวทางการประเมิน รพ.สต. คุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพเครือข่าย บริการปฐมภูมิ

Flow Chart การถ่ายทอดนโยบาย เริ่ม รับนโยบายและแนวทางปฏิบัติ จากกระทรวงสาธารณสุข วิเคราะห์นโยบายและประยุกต์ปรับใช้ให้เข้ากับองค์กร 3 ธงนำ 4 เข็มมุ่ง ธงนำที่ ๑ ลดคนป่วย ธงนำที่ ๒เพิ่มคนสุขภาพดี ธงนำที่ ๓ ขยายการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน เข็มมุ่งที่ ๑ พัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม Service Plan เข็มมุ่งที่ ๒ พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศทุกระดับ เข็มมุ่งที่ ๓พัฒนาบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูงและมีความสุข เข็มมุ่งที่ ๔ พัฒนาการ Implement งานในพื้นที่ให้เกิด Impact C A N D O 1.Self care 1. เรียนรู้และรู้จักกัน 2. Empowerment 3. เพิ่มผลคุณภาพบริการ 4. ยกระดับบริการ ลดโรค ลดตาย ลดแทรกซ้อน รพ./สสอ./รพ.สต. เครือข่ายสุขภาพ/อสม. อปท./ประชาชนในพื้นที่ 2. Accessibility to essential Care

ความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดทิศทางอย่างชัดเจน การนำองค์กร วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT) การปรับทิศทางด้านสุขภาพ นโยบายรัฐบาล สถานการณ์ด้านสุขภาพของประชาชนในอนาคต ความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นโยบายกระทรวง ความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชน นโยบายจังหวัด การกำหนดยุทธศาสตร์ กำหนดทิศทางการทำงานของสำนักงานสาธารณสุขและหน่วยงานในสังกัด ประกาศนโยบาย ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กำหนดเป้าประสงค์ กำหนดยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ การปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี ธงนำที่ ๑ ลดคนป่วย เข็มมุ่งที่ ๑ พัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม Service Plan เข็มมุ่งที่ ๓ พัฒนาบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูงและมีความสุข ธงนำที่ ๒เพิ่มคนสุขภาพดี เข็มมุ่งที่ ๒ พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศทุกระดับ เข็มมุ่งที่ ๔ พัฒนาการ Implement งานในพื้นที่ให้เกิด Impact ธงนำที่ ๓ ขยายการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน การควบคุมยุทธศาสตร์ ติดตามและนิเทศการปฏิบัติงาน ประเมินผลความก้าวหน้ายุทธศาสตร์ สิ้นสุด ณ 31 ส.ค.

สรุปผลการตรวจเยี่ยม/ประเมินมาตรฐาน รพ.สต. ประเด็นการเยี่ยม รพ.สต. ด้านการสื่อสารนโยบาย ด้านแผนปฏิบัติการสู่ผลสัมฤทธิ์ นโยบาย 3 ธงนำ ด้านการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ โรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ด้านการบรูณาการงานด้านสาธารณสุขระหว่าง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ชุมชน

สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต. ด้านการสื่อสารนโยบาย เมื่อพิจารณาถึงผลสัมฤทธิ์ด้านการสื่อสารนโยบาย พบว่า หน่วยบริการปลายทางของนโยบาย (รพ.สต.) ส่วนใหญ่ ได้รับนโยบายจากการประชุมระดับจังหวัดและอำเภอ และมีรูปแบบการดำเนินงานที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับบริบทของพื้นที่ โดยมีเป้าหมายเดียวกัน นอกจากนี้ พบความเสี่ยง 3 เรื่องหลัก ดังนี้ 1. การจัดการด้านข้อมูลคัดกรอง DM/HT มีหน่วยบริการบางแห่งไม่สามารถจำแนกสีได้ถูกต้อง ซึ่งต้องย้อนกลับมาพิจารณาถึงแนวทางการดำเนินงาน คำนิยาม ที่ส่งมอบให้กับหน่วยบริการ 2. การเพิ่มพูนทักษะกับทีมสุขภาพ มีการแสดงผลการวิเคราะห์ส่วนขาดในบางแห่ง แต่ไม่พบแนวทางการพัฒนาและเพิ่มพูนทักษะที่จำเป็นในประเด็นปัญหา ซึ่งอาจ GAP ในการสื่อสารแนวทางระหว่างจังหวัดและอำเภอ

สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต. ด้านการสื่อสารนโยบาย 3. มีการจำแนกกลุ่มเป้าหมาย WECANDO แต่ไม่เห็นกระบวนการดำเนินงานในกลุ่มเป้าหมาย WECANDO ชัดเจน ด้านแผนปฏิบัติการสู่ผลสัมฤทธิ์ นโยบาย 3 ธงนำ พบว่า มีการดำเนินการในรูปแบบ Routine ไม่สามารถแสดงให้เห็นกระบวนการที่จะส่งผลให้ นโยบาย 3 ธงนำ สำเร็จได้ เมื่อพิจารณาจากแผนปฏิบัติการที่หน่วยบริการนำเสนอ

สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต. ด้านการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ โรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล พบว่า การใช้กรอบพัฒนา DHS สามารถทำให้หน่วยบริการสาธารณสุขมีมุมมองในการพัฒนาพื้นที่รับผิดชอบร่วมกันได้ ถึงแม้ยังไม่สามารถเห็นเป็นรูปธรรมภายในระยะเวลาอันสั้น แต่ถ้าพิจารณาแผนระยะยาวอาจมีผลลัพธ์ที่พึ่งพอใจ

สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต. ด้านการบูรณาการงานด้านสาธารณสุขระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ชุมชน ในการดำเนินการประเด็นนี้ให้สำเร็จ ขึ้นอยู่ที่ ต้นทุนทางสังคมของประชาชนในชุมชนที่ตระหนักถึงภัยสุขภาพ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสนับสนุนการดำเนินงานของชุมชน เช่น รพ.สต.บ้านค้อ รพ.สต. สาวะถี รพ.สต. ดอนช้าง เป็นต้น

ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS เกณฑ์ PMQA/ PCA มาตรฐานสุขศึกษา มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) ขั้นการพัฒนา DHS หมวด 1 การนำองค์กร องค์ประกอบที่ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษา การพัฒนามาตรฐานบริหารจัดการที่มีคุณภาพ 1.1 คณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ องค์ประกอบที่ 7 การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษา 1.2 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก   1.3 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ 1.4 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) 1.5 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS เกณฑ์ PMQA/ PCA มาตรฐานสุขศึกษา มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) ขั้นการพัฒนา DHS หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ องค์ประกอบที่ 4 แผนการดำเนินงาน สุขศึกษา แผนพัฒนาผลงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 2.1 การวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ - แผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ - แผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย   ประสานงานให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผน/ทำกิจกรรมสาธารณสุข 3.1 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 3.2 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ (Resource sharing) สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพที่ริเริ่มจากองค์กรชุมชน/ท้องถิ่น 3.3 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น   3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ (Resource sharing)

ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS เกณฑ์ PMQA/ PCA มาตรฐานสุขศึกษา มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) ขั้นการพัฒนา DHS หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ องค์ประกอบที่ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขศึกษา ใช้บันทึกสุขภาพรายบุคคล 4.1 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 4.2 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) องค์ประกอบที่ 9 การวิจัยที่เกี่ยวกับสุขศึกษา นวัตกรรมด้านต่างๆ ในศูนย์สุขภาพชุมชน/การดำเนินงานวิจัยในพื้นที่ 4.3 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล องค์ประกอบที่ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษา ทีมสุขภาพให้การบริการต่อเนื่องเป็นทีมประจำ 5.1 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากรต่อเนื่องแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 5.2 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill)   5.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 5.4 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 5.5 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ

ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS เกณฑ์ PMQA/ PCA มาตรฐานสุขศึกษา มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) ขั้นการพัฒนา DHS หมวด 6 การจัดการกระบวนการ องค์ประกอบที่ 5 กิจกรรมสุขศึกษา แนวทาง กระบวนการ มาตรฐาน คู่มือการให้บริการ ทุกกลุ่มอาการ 6.1 การทำกิจกรรมด้านสุขภาพ องค์ประกอบที่ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ ประสานงานให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผน/ทำกิจกรรมสาธารณสุข 6.2 กระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม องค์ประกอบที่ 6 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานสุขศึกษา (สนับสนุน CUP) สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพที่ริเริ่มจากองค์กรชุมชน/ท้องถิ่น   หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ องค์ประกอบที่ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษา ประเมินผลงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 7.1 ผลลัพธ์เป็นรูปธรรม

แผน DHS ของอำเภอเราเป็นอย่างไร ? ประเด็นพัฒนา บริการหลักที่ควรมี ผู้รับบริการ WECANDO ผู้มีส่วนร่วม WHO? ผลลัพธ์ กิจกรรมด้านบริหารจัดการ กิจกรรมด้านพัฒนาบุคลากร กิจกรรมด้านการมีส่วนร่วมในชุมชน

รายงานผลการดำเนินงาน PMQA 1 . อธิบายสภาพปัญหา และสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะเริ่มการปรับปรุง (อธิบายความเป็นมา ปัญหา โดยให้เขียนประเด็นที่หัวใจสำคัญ รวมถึงกลุ่มที่ได้รับผลกระทบ) 2 .อธิบายทิศทางและนโยบาย ของคณะกรรมการ DHS อำเภอกำหนด เช่น วัฒนธรรมองค์กร ค่านิยมร่วม และสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะริเริ่มดำเนินงาน DHS เพื่อแสดงถึงแก้ปัญหาตามข้อ 1 โดยให้นำเสนอประเด็นที่เป็นหัวใจสำคัญ แนวโน้ม และเงื่อนไขของสถานการณ์ รวมถึงกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบด้วยคณะกรรมการ DHS ระดับอำเภอ

รายงานผลการดำเนินงาน PMQA 3. แนวทางและกลยุทธ์ที่นำมาใช้ในการดำเนินการ (สรุปวัตถุประสงค์หลักและกลยุทธ์ที่ใช้ว่ามีวิธีการอย่างไร ในการจัดบริการหลัก เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ผสมผสาน ต่อเนื่องของประชาชน แสดง Flowchart การให้บริการแบบใหม่ที่ปรับปรุงจากแบบเดิม) 4 . ระบุผู้นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ผู้ดำเนินการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินการของคณะกรรมการ DHS (ระบุว่าใครมีส่วนร่วมในการออกแบบบริการหลักที่สำคัญในกระบวนการ และผู้เกี่ยวข้องดำเนินการอย่างไรบ้าง)

รายงานผลการดำเนินงาน PMQA 5. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ ODOP (อธิบาย ผลลัพธ์ ผลสำเร็จ โดยให้อธิบายถึงวิธีการวัดผลทั้งในเชิงคุณภาพ และ ใครคือผู้รับประโยชน์) 6 . อธิบายขั้นตอนของบริการหลักที่กำหนดและการนำไปปฏิบัติ 6.1 ลำดับขั้นตอนในการพัฒนา 6.2 ลำดับเหตุการณ์ดำเนินการหลักในการปฏิบัติ

รายงานผลการดำเนินงาน PMQA 7. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหา (อธิบาย ผลลัพธ์ ผลสำเร็จ โดยให้อธิบายถึงวิธีการวัดผลทั้งในเชิงคุณภาพ และ ใครคือผู้รับประโยชน์) 8 . การสร้างความยั่งยืนและการขยายผลไปสู่บริการอื่นๆ (อธิบายถึงวิธีการที่ทำให้เกิดความยั่งยืน และให้อธิบายว่าหากบริการนี้เผยแพร่สู่สาธารณะจะสามารถนำมาขยายผลได้อย่างไร) 9. บทเรียนที่ได้รับ คืออะไร (อธิบายองค์ประกอบหลักที่ทำให้ประสบความสำเร็จ)

การใช้โปรแกรมประเมินตนเอง

เข้าเว็บไซต์กองสุขศึกษา http://www.hed.go.th คลิกแบนเนอร์ มาตรฐานงานสุขศึกษา

เลือกประเมินตนเอง ตามระดับสถานบริการ

หน่วยบริการ บันทึกข้อมูล 1.) รหัสหน่วยบริการสุขภาพ 5 หลัก 2.) Password (ใช้รหัสหน่วยบริการสุขภาพ 5 หลัก) 3.) เลือกปีงบประมาณที่ต้องการประเมิน 4.) กดปุ่ม ขอประเมินตนเอง

ตรวจสอบความถูกต้องของชื่อสถานบริการ ก่อนทำแบบประเมิน

โปรดอ่าน * เงื่อนไขการประเมินตนเอง (ตัวสีแดง)ให้เข้าใจ

เข้าสู่กระบวนการประเมินฯ ตามองค์ประกอบที่ 1-10 คลิกเลือกบันทึกให้ ครบทุกเกณฑ์ ใส่หลักฐานหรือ ข้อมูลยืนยัน กดปุ่ม บันทึก ด้วยทุกครั้ง เสร็จสิ้นการประเมินตามตัวชี้วัดในแต่ละองค์ประกอบ

สั่งพิมพ์หลักฐานการบันทึกข้อมูล เลือก ส่งแบบประเมินตนเอง ยืนยันการส่งแบบประเมิน สั่งพิมพ์หลักฐานการบันทึกข้อมูล เพื่อเก็บเป็นหลักฐาน ระบบจะแสดง ผลการประเมินตนเอง

ตัวอย่างการแสดง ผลการประเมินตนเอง

ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ฯ ที่ผ่านการประมวลผลโดยระบบอัตโนมัติของโปรแกรมหลังเสร็จสิ้นการบันทึกข้อมูล

แบบสรุปผลการประเมินภาพรวม แสดงระดับการประเมินของสถานบริการสุขภาพว่าอยู่ในระดับใด

การขอรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา ดำเนินการตรวจประเมินเพื่อรับรอง โดยองค์กรภายนอก ดำเนินการโดยความสมัครใจของ สถานบริการ ขั้นตอน/กระบวนการขอรับรอง มาตรฐาน.......

จัดทำฐานข้อมูล การตรวจประเมินภายในองค์กร กระบวนการ รับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา สถานบริการสุขภาพ คณะกรรมการตรวจสอบ ระดับจังหวัด สถานบริการสุขภาพดำเนินการ และประเมินตนเอง ผลประเมินอยู่ในระดับ 3 ดีมาก จัดทำฐานข้อมูล ติดตามผลการดำเนินงาน 3 3 รายงานผลการพัฒนาคุณภาพ 1 การตรวจประเมินภายในองค์กร กองสุขศึกษา ผลการพิจารณาจาก คกก. ระดับจังหวัด 2 ถูกต้อง ไม่ผ่านความเห็นชอบ A 4 น คณะอำนวยการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา ตรวจสอบ ความถูกต้องของเอกสาร 8 5 ประกาศผล/เผยแพร่ มอบใบรับรอง ฯ การตรวจประเมินรับรองโดยองค์กรภายนอก ถูกต้อง 9 ผลการรับรอง รายงานผลการตรวจประเมินให้สมาคมฯ ทราบ 6 ผ่าน มอบ คณะกรรมกาดำเนินการตรวจประเมินเพื่อรับรอง ไม่ผ่าน 7 A กองสุขศึกษา

Thank You !