วาระการประชุมร่วมกับรพ.สต. (งานเภสัชกรรม) การลงข้อมูลแพ้ยาจาก web site ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเอกสารวิชาการจาก web site แจกป้ายรณรงค์พกยามาหาหมอ และการคิดมูลค่ายาคืน Update บัญชียา รพ.สต. ล่าสุด แจ้งเกณฑ์การนิเทศงานเภสัชกรรม หัวข้อที่สปสช. ปรับ สำหรับปี 56 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
การส่งต่อข้อมูลแพ้ยา ระหว่าง รพ. กับ รพ.สต. การส่งต่อข้อมูลแพ้ยา ระหว่าง รพ. กับ รพ.สต.
การส่งต่อข้อมูลแพ้ยา ระหว่าง รพ.
ข้อควรระวังในการสมัคร Username
www.pharutth.net/adr
เมื่อรับข้อมูลแพ้ยาแล้ว ต้องแก้ไขสถานะข้อมูลผู้ป่วยให้เป็น ดำเนินการแล้ว
โดยเข้าไป Click ที่คำว่า แก้ไข&ลบ
Click ที่คำว่า แก้ไข
รูปแสดง หน้าต่างในส่วนของข้อมูลที่แก้ไขได้ โดยให้แก้ที่บรรทัดสุดท้ายเท่านั้น
แก้คำว่า ยังไม่ได้ดำเนินการ ดำเนินการแล้ว
โดยพิมพ์ คำว่า ดำเนินการแล้ว และกด submit
เมื่อดำเนินการเสร็จ จะแสดงดังภาพ
กรณีศึกษา เรื่องแพ้ยาซ้ำ ตัวอย่าง ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา Norfloxacin ซึ่งส่งต่อจาก รพ.อต.สู่ รพ.สต แล้วไม่นำประวัติไปใส่ใน Family folder + JHCIS ทำให้จ่ายยาแพ้ซ้ำ
บริเวณที่บันทึกข้อมูลแพ้ยา นำข้อมูลแพ้ยาของผู้ป่วยไป บันทึก 3 ที่ เพื่อป้องกันแพ้ยาซ้ำ ลงโปรแกรม JHCIS นำสติ๊กเกอร์แพ้ยา แปะ 2 ที่ ปก Family Floder หน้า OPD card
ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเอกสารวิชาการ จาก web site
www.pharutth.net
Click เอกสารทางวิชาการ
Click แบบฟอร์มต่าง ๆ + แนวทางพัฒนา + ตัวชี้วัด
ป้ายรณรงค์พกยามาหาหมอ และการคิดมูลค่ายาคืน ป้ายรณรงค์พกยามาหาหมอ และการคิดมูลค่ายาคืน
วิธีการคิด มูลค่ายาคืน ถามยาเดิมที่เหลือทุกครั้งการจ่ายยา หักยาเหลือของผู้ป่วยออก โดยให้กินยาเก่าก่อน และเติมยาใหม่ให้พอดีวันนัด นำยาที่เหลือมาคิดมูลค่า ทำเป็นรายงานมูลค่ายาคืน สามารถ Download แบบฟอร์มได้จาก www.pharutth.net
ตัวอย่างการบันทึกมูลค่ายาคืนผู้ป่วย สรุปเป็นรายเดือน ตัวอย่างการบันทึกมูลค่ายาคืนผู้ป่วย สรุปเป็นรายเดือน วดป ชื่อ สกุล ผู้ป่วย จะบันทึกหรือไม่ก็ได้ รายการยาที่เหลือ จำนวน ราคาต่อหน่วย มูลค่ายาคืน
ประโยชน์ จากการทำโครงการนี้ ลดยาหมดอายุที่บ้านผู้ป่วยได้ ช่วยติดตามปัญหาการใช้ยาของผู้ป่วยได้ ลดปัญหายาตีกัน Drug Interaction ได้
Update บัญชียา รพ.สต.ล่าสุด เดือน กุมภาพันธ์ 56 รายการยา 4 ตัวที่เพิ่มใหม่ คือ Clopidogrel Methyldopa Hydralazine Carvedilol
ตัวอย่าง บัญชีรายการยาที่มีการปรับเปลี่ยน ให้เบิกตามความจำเป็นและปริมาณการใช้ยาตามจริง
แจ้งเกณฑ์การนิเทศงานเภสัช หัวข้อที่สปสช ปรับ สำหรับปี 56 แจ้งเกณฑ์การนิเทศงานเภสัช หัวข้อที่สปสช ปรับ สำหรับปี 56 2.4 มีบัญชีควบคุมการเบิกจ่ายยา และบันทึกข้อมูล ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน (ตัดออก ไม่คิดคะแนนแต่ต้องมีตรวจสอบยอดคงคลัง) 5.1 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลครบถ้วน เป็นปัจจุบัน (จากปกติเพิ่มระดับเป็น (M)) 5.5 มีการนำข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่พบมาจัดทำแผน /แนวทางแก้ไขปัญหา (M) (ตัดออก) 6.3 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลหมอพื้นบ้าน 6.3.1 มีฐานข้อมูลหมอพื้นบ้านที่ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน (ตัดออก) 6.3.2 มีผลการวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งหมอพื้นบ้านเพื่อนำสู่การพัฒนา (ตัดออก)
หัวข้อการนิเทศงานเภสัชกรรมปฐมภูมิ ปี 56 หัวข้อที่ปรับเปลี่ยนสามารถ download แบบฟอร์มได้ใน www.pharutth.net การนิเทศงานเภสัชกรรมปฐมภูมิปี 56 แจ้งให้ทุกรพ.สต. จัดทำยอดคงคลังด้วย เพื่อดูปริมาณการสำรอง และปริมาณการหมุนเวียนยา
THANK YOU
ประชุมรอบบ่าย
รายการยาที่หมดอายุบ่อย / Dead stock ขอมติที่ประชุม พิจารณายาเข้าออกจากบัญชี รพ.สต
รายการยาที่ EXP/Dead stock รายการต่อไปนี้ ให้เบิกสำรองกรณีที่มี Case ใช้เท่านั้น ไม่จำเป็นต้องสำรองทุกรพ.สต. Furosemide 40 mg tab ASA gr.V Dilantin 100 mg, 50 mg Phenobarbital 30, 60 mg
รายการยาที่ EXP/Dead stock รายการต่อไปนี้ ขอมติพิจารณา เข้า-ออก บัญชี Penicillin V tab, syr Immodium (Loperamide) Mebendazole tab Sodamint tab (Sodium bicarbonate)
รายการยาที่ EXP/Dead stock รายการต่อไปนี้ ขอมติพิจารณา เข้า-ออก บัญชี Metoclopramide inj, tab Vitamin B6 tab Norfloxacin 100 mg Indomethacine tab
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน คลังเวชภัณฑ์ (นำเสนอ) งานผลิตยาน้ำ (นำเสนอ) งานน้ำเกลือ (นำเสนอ) ศูนย์ประสานงาน (นำเสนอ) รพ.สต. (นำเสนอ)