การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
Advertisements

การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การปกครองคณะสงฆ์ไทย Thai Sangha Administration
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การประกันคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษา EA 5103
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การประกันคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษา EA 5103
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา และ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนดงมะไฟพิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

การประเมินคุณภาพ ภายในสถานศึกษา กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนดงมะไฟพิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 มาตรฐาน 65 ตัวบ่งชี้ (เริ่มใช้ 2554) 18 มาตรฐาน 84+4 ตัวบ่งชี้ (2551 - 2553) มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ (6 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน) มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี (5 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 8 ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา (3 ตัวบ่งชี้) (หมายเหตุ เพิ่มตัวบ่งชี้มาตรฐานที่ 1,6,13,15 = 84+4 รวม 88 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (4 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน)   มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (6+1 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม (2 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (4 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน) มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (3+1 ตัวบ่งชี้)  

15 มาตรฐาน 65 ตัวบ่งชี้ (เริ่มใช้ 2554) 15 มาตรฐาน 65 ตัวบ่งชี้ (เริ่มใช้ 2554) 18 มาตรฐาน 84+4 ตัวบ่งชี้ (2551 - 2553) มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล (4 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน) มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ (4 ตัวบ่งชี้)   มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร (4 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน) มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร ( 5 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต (4 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน) มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต (5 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา (6 มาตรฐาน / 33 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (9 ตัวบ่งชี้/10 คะแนน) มาตรฐานที่ 9 ครูมีคุณธรรมจริยธรรมมีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเองเข้ากับชุมชนได้ดีและมีครูเพียงพอ (7 ตัวบ่งชี้)  มาตรฐานที่ 10 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (7 ตัวบ่งชี้) ผู้เรียน

15 มาตรฐาน 65 ตัวบ่งชี้ (เริ่มใช้ 2554) 15 มาตรฐาน 65 ตัวบ่งชี้ (เริ่มใช้ 2554) 18 มาตรฐาน 84+4 ตัวบ่งชี้ (2551 - 2553) มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (6 ตัวบ่งชี้/10 คะแนน) มาตรฐานที่ 11 ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา (4 ตัวบ่งชี้)  มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน (5+1 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (3 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน) มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (1 มาตรฐาน / 2 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (2 ตัวบ่งชี้ / 10 คะแนน) มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น (2 ตัวบ่งชี้)  มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา สถาบันทางวิชาการ และองค์กรภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนรู้ในชุมชน (2 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน (6 ตัวบ่งชี้ / 10 คะแนน) มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (7 ตัวบ่งชี้)   มาตรฐานที่ 15 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย (7+1 ตัวบ่งชี้)

15 มาตรฐาน 65 ตัวบ่งชี้ (เริ่มใช้ 2554) 15 มาตรฐาน 65 ตัวบ่งชี้ (เริ่มใช้ 2554) 18 มาตรฐาน 84+4 ตัวบ่งชี้ (2551 - 2553) มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา เต็มศักยภาพ (3 ตัวบ่งชี้ / 10 คะแนน) มาตรฐานที่ 16 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติ (5 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนดในกฎกระทรวง (6 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน) มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม (1 มาตรฐาน / 2 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น (2 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน) มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบ ครบวงจร (5 ตัวบ่งชี้)   มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา (1 มาตรฐาน / 2 ตัวบ่งชี้) มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้น ที่กำหนดขึ้น (2 ตัวบ่งชี้ / 5 คะแนน)

การให้คะแนนตัวบ่งชี้และสรุปผลรายมาตรฐาน ในการประเมินคุณภาพภายใน โดยคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งในแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ได้กำหนดน้ำหนักคะแนนไว้แตกต่างกันนั้น การกำหนดระดับคุณภาพที่ถือว่าเป็นระดับพื้นฐานที่ผู้เรียนหรือสถานศึกษาจะต้องสามารถทำได้ถูกกำหนดไว้ที่ระดับ ๓ ดังนั้น ในการพิจารณาให้คะแนนคุณภาพในแต่ละตัวบ่งชี้ การสรุปรายมาตรฐาน การสรุปรายด้าน และการสรุปภาพรวม มีดังนี้

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๑

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๒

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๓

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๔

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๕

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๖

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๗

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๘

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๙

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๑๐

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๑๑

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๑๒

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๑๓

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๑๔

เกณฑ์มาตรฐานที่ ๑๕

การประเมินคุณภาพ ภายนอกสถานศึกษา กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนดงมะไฟพิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายใน กับประเมินคุณภาพภายนอก

ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา ประเมินจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลัก ตามมาตรา ๕๑ ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ โดยให้น้ำหนักร้อยละ ๘๐ และ ใช้ข้อมูลเฉลี่ยย้อนหลัง ๓ ปี ประเมินประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และเชิงพัฒนาการ โดยพิชญพิจารณ์ (Peer Review) ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้อง เชื่อถือ ได้ เพื่อกระตุ้นให้การประกันคุณภาพภายใน มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น ๔ เมษายน ๒๕๖๒

ประเมินในเชิงกระบวนการ โดยให้น้ำหนักร้อยละ ๒๐ ให้ ความสำคัญกับกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู เครื่องมืออุปกรณ์ คุณภาพและความพร้อมของผู้เรียน การจัด การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การบริหารจัดการที่ใช้ โรงเรียนเป็นฐาน และการประกันคุณภาพภายใน ลดจำนวนตัวบ่งชี้และจำนวนมาตรฐานสำหรับการประเมิน คุณภาพภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐาน เกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าและกระบวนการให้อยู่ในระบบ การประกันคุณภาพภายใน ๔ เมษายน ๒๕๖๒

กฎหมาย ระเบียบที่ต้องรู้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ หมวด ๖ มาตรา ๔๗-๔๙ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกัน คุณภาพ การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยมาตรฐาน การศึกษา ขั้น พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๓ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๕. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔ เมษายน ๒๕๖๒

การประเมินคุณภาพภายนอก รอบแรก - เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของชาติ - เพื่อยืนยันสภาพจริงของสถานศึกษา ไม่ตัดสิน ผล ได้-ตก รอบสอง - เพื่อรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา - เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา รอบสาม - เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา - เพื่อรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ๔ เมษายน ๒๕๖๒

มาตรฐานการศึกษาในการประเมินรอบสาม การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 – 2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับสถานศึกษา พ.ศ.2554 มาตรฐานการศึกษาในการประเมินรอบสาม กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๓๘ กำหนดให้สำนักงานทำการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่องดังต่อไปนี้ ๑) มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ และประเภทการศึกษา ๒) มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา ๓) มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๔) มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน

กลุ่มตัวบ่งชี้ ๓ กลุ่ม แบ่งเป็น ๓ กลุ่ม จำนวนทั้งหมด ๑๒ ตัวบ่งชี้ ดังนี้ ๑. กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ ๑-๘ ๒. กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ ๙ และ ๑๐ ๓. กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ และ ๑๒ ๔ เมษายน ๒๕๖๒

กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ น้ำหนัก (คะแนน) ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๑๐ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๔ ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ๒๐ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด

การกำหนดค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ 8:04 AM การกำหนดค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดให้มีตัวบ่งชี้ ดังนี้ - ตัวบ่งชี้พื้นฐาน จำนวน ๘ ตัวบ่งชี้ มีค่าน้ำหนักรวม ๘๐ คะแนน (โดยตัวบ่งชี้ที่ ๑ – ๔ และตัวบ่งชี้ที่ ๖ มีค่าน้ำหนัก ๑๐ คะแนนตัวบ่งชี้ที่ ๕ มีค่าน้ำหนัก ๒๐ คะแนน และตัวบ่งชี้ที่ ๗ - ๘ มีค่าน้ำหนัก ๕ คะแนน ) - ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ มีจำนวน ๒ ตัวบ่งชี้ มีค่าน้ำหนัก ๑๐ คะแนน (แต่ละตัวบ่งชี้มีค่าน้ำหนัก ๕ คะแนน) - ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม มีจำนวน ๒ ตัวบ่งชี้ มีค่าน้ำหนัก ๑๐ คะแนน (แต่ละตัวบ่งชี้มีค่าน้ำหนัก ๕ คะแนน) ๔ เมษายน ๒๕๖๒

รูปแบบการประเมิน ๑. การประเมินเชิงปริมาณ ได้แก่ 8:04 AM รูปแบบการประเมิน มีรูปแบบการประเมิน ๕ รูปแบบ ดังนี้ ๑. การประเมินเชิงปริมาณ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ , ๒.๓ , ๓.๑ , ๓.๒ , ๔.๑ , ๔.๒ และ ๖.๒ ๒. การประเมินเชิงปริมาณและพัฒนาการ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ , ๕.๑ – ๕.๘ และ ๘ ๓. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ได้แก่ ตัว บ่งชี้ที่ ๑.๒ และ ๒.๒ ๔. การประเมินเชิงคุณภาพ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ , ๗ , ๙ , ๑๐ และ ๑๒ ๕. การประเมินเชิงคุณภาพและพัฒนาการ ได้แก่ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ๔ เมษายน ๒๕๖๒

ตัวบ่งชี้ กลุ่มตัวบ่งชี้ เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 8:04 AM ตัวบ่งชี้ มาตรฐาน ตามกฎกระทรวงฯ กลุ่ม พื้นฐาน ๑. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ ๑ ผลการจัดการศึกษา ๒. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ๓. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๔. ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ๕. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ๖. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๗. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๒ การบริหารจัดการศึกษา ๘. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด มาตรฐานที่ ๔ การประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ ๙. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ ผลการจัดการศึกษา ๑๐. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรการส่งเสริม ๑๑. ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ๑๒. ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔ เมษายน ๒๕๖๒

ค่าน้ำหนักคะแนนกลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน (๘๐ คะแนน) 8:04 AM ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ น้ำหนัก (คะแนน) ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๑๐ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๔ ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ๒๐ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด ๔ เมษายน ๒๕๖๒

ค่าน้ำหนักคะแนนกลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 8:04 AM ค่าน้ำหนักคะแนนกลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ (๑๐ คะแนน) ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ น้ำหนัก (คะแนน) ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ๕ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๔ เมษายน ๒๕๖๒

ค่าน้ำหนักคะแนนกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 8:04 AM ค่าน้ำหนักคะแนนกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม (๑๐ คะแนน) ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ น้ำหนัก (คะแนน) ๑๑ ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษ เพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ๕ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษา เพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้อง กับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔ เมษายน ๒๕๖๒

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม เกณฑ์ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม