วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สนอ.๕ สำนักงานอธิการบดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
KKU : แผนระยะยาว พ. ศ ( ) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ ) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ ) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
โครงสร้างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สนอ.๕ สำนักงานอธิการบดี การประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สนอ.๕ สำนักงานอธิการบดี

วาระที่ ๑.๑ สรุปเนื้อหาการประชุมกลุ่มเสวนา Quality Assurance Forum ครั้งที่ ๒/๒๕๕๓ วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๓ (ร่าง) มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนน การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) เป็นเอกสารที่ใช้ประกอบการประเมินนำร่องการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 กับ 6 สถาบันอุดมศึกษา คำนิยามของสถาบันอุดมศึกษากลุ่มที่ ค(2) สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุ่มสาขาวิชาในระดับปริญญาตรี ประเมินและวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน รวมทั้งการประยุกต์ความรู้เพื่อการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุ่มสาขาวิชา เพื่อตอบสนองภาคการผลิตทั้งภาคอุตสาหกรรมและบริการ

กลุ่มสาขาวิชาแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ คณะวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และเกษตรศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้แก่ คณะวิชาบริหาร พาณิชยศาสตร์ การบัญชี การจัดการ การท่องเที่ยว เศรษฐศาสตร์ นิเทศศาสตร์ ศิลปศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมวิทยา การคำนวณค่าคะแนนระดับสถาบัน ใช้ผลรวมค่าคะแนนของทุกคณะรวมกัน หารด้วย จำนวนคณะทั้งหมด

มาตรฐานที่ 1 : ด้านคุณภาพบัณฑิต – เอกสารหน้า 4 ตัวบ่งชี้ 1.1 ร้อยละบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ปี ผลรวมของจำนวนบัณฑิต ป.ตรี ที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ = ภายใน 1 ปี นับจากวันที่สำเร็จการศึกษา 3 ปีย้อนหลัง * 100 ผลรวมของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 3 ปีย้อนหลัง ทุกกลุ่มสาขาวิชา มีร้อยละที่กำหนดเป็น 5 คะแนน คือ ร้อยละ 100 สูตรที่ใช้คำนวณค่าคะแนน = ร้อยละของผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ * 5 ร้อยละผลการดำเนินงานที่กำหนดเป็น 5 คะแนน(ในที่นี้คือ 100) = 2,500 + 2,800 + 2,700 * 100 = 88.89% = 88.89 * 5 = 4.45 คะแนน 3,000 + 3,000 + 3,000 100

มาตรฐานที่ 2 : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ – เอกสารหน้า 6 ตัวบ่งชี้ 2.1 ร้อยละงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ ผลรวมของจำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ = ในระดับชาติและระดับนานาชาติ 3 ปีปฏิทินย้อนหลัง * 100 อาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมด 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง(ไม่รวมลาศึกษาต่อ) กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีร้อยละที่กำหนดเป็น 5 คะแนน คือ ร้อยละ 20 มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร้อยละ 10 สูตรที่ใช้คำนวณค่าคะแนน = ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ * 5 ร้อยละผลการดำเนินงานที่กำหนดเป็น 5 คะแนน คณะวิทย์ = 15 + 17 + 19 * 100 = 30.91% = 30.91 * 5 = 7.73 = 5 คะแนน 50 + 55 + 60 20

วาระที่ ๑.๒ สรุปเนื้อหาการประชุมกลุ่มเสวนา Quality Assurance Forum ครั้งที่ ๓/๒๕๕๓ วันศุกร์ที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๓ สรุปเนื้อหาการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสาม หลังจากที่มีการประเมินสถาบันอุดมศึกษานำร่องแล้ว ระดับการประเมิน ระดับวิทยาเขต และวิทยาคาร ระดับคณะวิชา ระดับสถาบัน ข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน – ข้อมูลเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี ตาม(ร่าง)คู่มือฯ คะแนนที่ได้ = (ข้อมูลปีที่ 1 + ปีที่ 2 + ปีที่ 3) / 3 ตามสูตรของผู้ประเมิน คะแนนที่ได้ = (คะแนนปีที่ 1 + ปีที่ 2 + ปีที่ 3) / 3

ปัญหาที่พบในการประเมินสถาบันอุดมศึกษานำร่อง ตัวบ่งชี้ 1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับ ป.ตรีที่ได้งานทำฯ ความน่าเชื่อถือของข้อมูล ตัวบ่งชี้ 1.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับ ป.ตรีที่สอบใบประกอบวิชาชีพในครั้งแรก สาขาวิชาวิศวกรรม และสาขาวิชาสถาปัตยกรรม ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ในทันที/คณะตามข้อมูลได้ยาก เพราะมีการสอบได้หลายครั้งใน 1 ปี ตามความพร้อมของแต่ละคน คณะและสถาบันที่ไม่มีตัวบ่งชี้ 1.2 นำค่าน้ำหนักไปรวมกับตัวบ่งชี้ที่ 1.2 (ทำให้ต้องประเมินมาตรฐานที่ 1 ด้วย 1 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ระดับคุณภาพของบัณฑิตระดับ ป.ตรีตาม TQF ไม่สามารถนำมาวัดได้ทันในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบ 3 สมศ. พิจารณาเพิ่มตัวบ่งชี้ 1.4 – 1.6 ให้กับสถาบันกลุ่ม ค(2) และปรับค่าน้ำหนักใหม่ (เอกสารหน้า 2) รวมทั้ง พิจารณาเพิ่มตัวบ่งชี้ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

ปัญหาที่พบในการประเมินสถาบันอุดมศึกษานำร่อง ตัวบ่งชี้ 2.1 ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับรับการตีพิมพ์ฯ (เอกสารหน้า 2) มีการให้ค่าน้ำหนักคุณภาพของงานวิจัยฯ ตามฐานข้อมูลที่ สกอ. ยอมรับ (เอกสารภาคผนวก ก) ตัวบ่งชี้ 2.2 ร้อยละของงานวิจัยฯ ที่นำมาใช้ประโยชน์ หมายถึงการนำมาใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย เชิงพาณิชย์ เชิงสาธารณะเท่านั้น และต้องแสดงหลักฐานของหน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ด้วย ทั้งนี้ ไม่รวมงานวิจัยฯ ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ 2.3 ร้อยละของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ หมายถึงผลงานวิชาการในเชิงตำรง หรือบทความวิชาการ ฯลฯ ที่ไม่ได้มาจากงานวิจัย และไม่สามารถนำไปจดลิขสิทธิ์ได้ มีการให้ค่าน้ำหนักของผลงานวิชาการ (เอกสารหน้า 3)

ปัญหาที่พบในการประเมินสถาบันอุดมศึกษานำร่อง มาตรฐานที่ 4 ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (เอกสารหน้า 3) ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมพัฒนาและการจัดการอุตสาหกรรมสร้างสรรค์บทพื้นฐานศิลปะและมรดกทางวัฒนธรรมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน ได้รับการพิจารณาให้ตัดออก ตัวบ่งชี้ 4.1 – 4.2 ผอ.สมศ. รับพิจาณาตัวบ่งชี้และเกณฑ์ใหม่ มาตรฐานที่ 6 ด้านประกันและพัฒนาคุณภาพสถาบัน (เอกสารหน้า 3) ตัวบ่งชี้ 6.2 – 6.3 ผอ.สมศ. รับพิจาณารวมให้เป็น 1 ตัวบ่งชี้ การตัดสินผลการประเมิน 3 ประเภท ไม่รับรองมาตรฐาน รับรองมาตรฐาน รับรองมาตรฐานแบบ outstanding

การรับรองมาตรฐานศูนย์จัดการศึกษานอกที่ตั้ง (เอกสารหน้า 3) แม่สะเรียง นำข้อมูลผลการดำเนินงานกับ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ ภูเก็ต __________..___________ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ม.แม่โจ้-ชุมพร ประเมินเทียบเท่าคณะ ตามกลุ่มสาขาวิชามนุษย์และสังคม ม.แม่โจ้-แพร่ฯ _________,,__________,,__________วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การรับรองมาตรฐานระดับคณะ (เอกสารหน้า 4) ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักรวมในมาตรฐานที่ 1 – 4 อยู่ในระดับดีขึ้นไป (ค่าเฉลี่ย 3.75) ______________,,______________ 1 – 6 _______,,____________,,_____) ______________,,______________ 1 _______,,____________,,_____) ไม่มีมาตรฐานใดมีผลการประเมินอยู่ในระดับปรับปรุงหรือต้องปรับปรุง

การรับรองมาตรฐานระดับสถาบัน (เอกสารหน้า 4) คณะทั้งหมดต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานแบบ outstanding หรือเป็น Best Practice (เอกสารหน้า 4) คณะทั้งหมดต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน ผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 – 4 อยู่ในระดับดีมาก มีการปฏิบัติที่ดี หรือมีนวัตกรรมในด้านที่เป็นจุดเน้นของสถาบัน มีฐานะทางการเงินที่มั่นคง มีบรรยากาศทางวิชาการ มีภูมิทัศน์และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เหมาะกับการเป็นสถาบันอุดมศึกษา

วาระที่ ๑.๓ โครงการฝึกอบรมหลักสูตรประธานผู้ประเมินคุณภาพ ภายในของสถาบันอุดมศึกษา วันที่ ๗-๘ มิถุนายน ๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้แจ้งให้ผู้สนใจทราบถึงโครงการฝึกอบรมหลักสูตรประธานผู้ประเมินคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษา โดยใช้หลักสูตรของ สกอ. วันที่อบรม 7-8 มิถุนายน 2553 สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ค่าลงทะเบียน 2,000 บาท แบบตอบรับ ไปยังคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภายในวันที่ 27 พฤษภาคม 2553

ผู้เข้าร่วมสัมมนา : นางกมลวรรณ เปรมเกษม และ น.ส.ธัญลักษณ์ สินเปียง วาระที่ ๑.๔ สรุปเนื้อหาการสัมมนาเรื่อง เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ องค์ความรู้สู่ ภูมิภาค หลักสูตร “Top Management Forum : TQM” วันที่ มีนาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง ผู้เข้าร่วมสัมมนา : นางกมลวรรณ เปรมเกษม และ น.ส.ธัญลักษณ์ สินเปียง เนื้อหา

วาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ครั้งที่ ๓/๒๕๕๓ วันอังคารที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๓

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และผลการดำเนินงาน วาระที่ ๓.๑ การติดตามผลการพัฒนาอันเนื่องจากการประเมินคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๑ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และผลการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ฯ และกองแผนงาน ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 1. ควรเน้นการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวบ่งชี้ชีที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย มีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2552 มีการติดตามผลการดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม ที่ได้บรรจุไว้ในแผนฯ รอบ 6 เดือนและ 9 เดือน จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2552 เพื่อนำเสนอที่ประชุมผู้บริหารในภาพรวมทั้งปี

องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการฯ / สำนักบริหารและพัฒนา / กองแผนงาน / กองการเจ้าหน้าที่ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรกำหนดแนวทางการพัฒนาอาจารย์ด้านการวิจัยในชั้นเรียนให้เป็นรูปธรรม ควรหาสาเหตุและวางแนวทางแก้ไขการได้เงินเดือนเริ่มต้นต่ำกว่าเกณฑ์ มีการดำเนินการจัดทำ (ร่าง)แผนกลยุทธ์แนวทางพัฒนาการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย พ.ศ.2553-2556 งานวิจัยสถาบัน กองแผนงาน ได้ทำการสุ่มโทรศัพท์สอบถามผู้สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2551 ถึงสาเหตุ พบว่า 1)เพื่อหาประสบการณ์ระหว่างการรองานให้ที่ดีขึ้น 2)เป็นลูกจ้างชั่วคราวในสถานประกอบการขนาดเล็กหรือใกล้บ้าน 3)เพื่อใช้วันหยุดศึกษาต่อ

ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 3. ควรจัดจำแผนเชิงกลยุทธ์และหรือมาตรการให้อาจารย์มีคุณวุฒิและตำแหน่งวิชาการเพิ่มขึ้น 4. ควรเร่งปรับปรุงทุกหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาและสาขาวิชาชีพ มีการปรับปรุงเงื่อนไขการลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงาน ค่าตอบแทนในการจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ งานวิจัย การเพิ่มวุฒิการศึกษา สนับสนุนให้ทุนการศึกษา มีการดำเนินการจัดอบรมสัมมนา เรื่อง - การพัฒนาหลักสูตรตาม TQF - การจัดทำรายละเอียดหลักสูตร และหลักสูตร รายวิชาศึกษาทั่วไปตาม TQF 5. มีการจัดทำผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 5 ด้าน (Domains of Learning)

องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานักศึกษา ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาฯ / กองกิจการนักศึกษา / กองแนะแนวฯ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อบริการของสถาบันทุกด้าน อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง และมีการเสนอผลการสำรวจเพื่อการปรับปรุงการให้บริการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ได้ทำการสำรวจความต้องการของนักศึกษาจำนวน 2 ครั้ง โดยครั้งแรกได้สำรวจความต้องการจำเป็นของนักศึกษาใหม่ และครั้งที่สองได้สำรวจความต้องการของนักศึกษาทุกชั้นปีด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง

ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 2. ควรจัดทำแผนพัฒนาศิษย์เก่าด้านวิชาการและวิชาชีพ 3 ควรจัดหน่วยบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่ศิษย์เก่า และเป็นระบบข่าวสารที่เข้าถึงศิษย์เก่าได้อย่างรวดเร็ว 2. ได้จัดทำแบบสอบถามเพื่อสำรวจความต้องการด้านวิชาการและวิชาชีพของศิษย์เก่า เพื่อวิเคราะห์และจัดทำแผนและดำเนินการพัฒนาให้กับศิษย์เก่าต่อไป อยู่ในระหว่างดำเนินการจัดทำระบบฐานข้อมูลศิษย์เก่า ผ่าน website ของกองแนะแนวฯ รวมทั้งผ่านระบบ FreeSMS

องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย / สำนักวิจัยฯ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรพิจารณาเพิ่มสัดส่วนของคณะกรรมการวิจัยจากบุคคลภายนอก ควรสนับสนุนให้ทำวิจัยในประเด็นยุทธศาสตร์ที่มีผู้สนใจน้อย เช่น ยุทธศาสตร์การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาวิทยาการและทรัพยากรบุคคล จะทำการปรับปรุงโดยการแต่งตั้งคณะกรรมการวิจัยชุดใหม่ในเดือนสิงหาคม 2553 ทำการเผยแพร่ยุทธศาสตร์และแผนงานวิจัยของมหาวิทยาลัยให้ผู้สนใจใช้ประกอบการขอโครงการวิจัย ทำการทบทวนยุทธศาสตร์และแผนงานวัยของมหาวิทยาลัยใหม่ เพื่อให้รองรับงานวิจัยสนองความสามารถเฉพาะของมหาวิทยาลัยให้มากขึ้น จัดอบรมเทคนิคการเขียนงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ

ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 3. ควรสนับสนุนให้คณะที่ยังไม่สามารถหาแหล่งทุนภายนอกได้เรียนรู้วิธีการพัฒนางานวิจัย และการหาแหล่งทุน ควรเพิ่มรูปแบบและแนวทางการสร้างขวัญกำลังใจยกย่องนักวิจัยให้ครบทุกส่วน ควรพัฒนาระบบและกลไกความร่วมมือของนักวิจัยกับองค์กรภายนอก ให้นำผลงานวิจัยไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม จัดกิจกรรม KM หัวข้อ “ทำงานวิจัยอย่างถึงใช้ประโยชน์ได้” และจัดสัมมนาเรื่อง “การสร้างมูลค่าและคุณภาพของงานวิจัย” ให้ประกาศเกียรติคุณผู้มีงานวิจัยดีเด่น และสนับสนุนค่าตาอบแทนการตีพิมพ์ในวารสารที่มี peer review หรืออยู่ในฐานข้อมูลของ สกอ. มีการตั้งคณะกรรมการเพื่อผลักดันการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เพื่อทำหน้าที่โดยตรง รวมทั้งจัดกิจกรรมเผยแพร่และถ่ายทอดผลงานวิจัย ประชาสัมพันธ์ผลงานวิจัยผ่านสื่อ ตลอดทั้งผลักดันความร่วมมือกับแหล่งทุนให้มากขึ้น

องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย / สำนักวิจัยฯ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรเพิ่มนโยบายการให้บริการวิชาการแก่สังคมในด้านการเตือนสติให้กับสังคม ควรพัฒนารูปแบบการบูรณาการการบริการทางวิชาการที่เชื่อมโยงกับการเรียนการสอน การวิจัยและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ในโครงการเดียวกัน ตั้งศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แม่โจ้โพลล์ ขึ้น และศูนย์วิจัยและพัฒนาลำไยได้ให้ความรู้และความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ลำไยทุกวันจันทร์ ปรับระบบการจัดสรรงบประมาณด้านโครงการบริการวิชาการแก่สังคมใหม่ โดยกำหนดให้ทุกโครงการฯ ต้องมีการบูรณาการองค์ความรู้สู่การเรียนการสอน และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 3. ควรพัฒนารูปแบบการประเมินสัมฤทธิ์ผลและนำผลการประเมินไปพิจารณาปรับปรุง 3. มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ โดยนำโครงจากโครงการบริการวิชาการที่ให้บริการระดับนานาชาติจำนวน 5 ฐานเรียนรู้ (ลำไย กล้วยไม้ไทย ปลาบึก ไล้เดือนดิน และ ปุ๋ยหมักระบบกองเติมอากาศ)

องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาฯ / กองกิจการนักศึกษา ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรส่งเสริมการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมทั้งระดับชาติ ภูมิภาพ และนานาชาติ มีการกำหนดแผนกิจกรรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมที่ชัดเจน แต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มีการจัดกิจกรรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับภูมิภาค ชาติ และนานานชาติ

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร / รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ฯ / กองการเจ้าหน้าที่ / คณะกรรมการจัดการความรู้ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรมีการประเมินศักยภาพและผลปฏิบัติงานของผู้บริหารทุกระดับ ควรมีการติดตามประเมินแผนและปรับปรุงแผนการจัดการความรู้ตามระบบ PDCA อย่างต่อเนื่อง ดำเนินการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารในระดับคณบดี และอยู่ในระหว่างการปรับให้เข้าสู่ระดับผู้อำนวยการกองขึ้นไป -

ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 3. ควรกำหนดหัวข้อเรื่องสำหรับการจัดการความรู้ เพื่อจัดทำเป็นคู่มือหรือสื่อความรู้ในเรื่องนั้นๆ 3. มีดำเนินการจัดทำ Core Competencies 11 กลุ่มงาน จนสามารถจัดทำคู่มือสมรรถนะของแต่ละกลุ่มงานได้

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายทรัพย์สินฯ / คณะกรรมการเงินรายได้ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรทำแผนเชิงรุกเพื่อแสวงหาทรัพยากรจากแหล่งภายนอก อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการเงินรายได้

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ฯ / รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา นักศึกษา / งานประกันคุณภาพการศึกษา / กองกิจการนักศึกษา ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินการประกันคุณภาพ เพื่อนำไปสู่นวัตกรรมใหม่ ควรมีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมของนักศึกษา มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านประกันคุณภาพจำนวน 3 กลุ่ม (หน่วยงานที่มีการเรียนการสอนและมหาวิทยาลัย หน่วยงานสนับสนุนฯ เลขานุการผู้ประเมิน) กองกิจการนักศึกษาจะนำไปปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไป

ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 3. ควรเพิ่มบุคลากรงานประกันคุณภาพการศึกษาให้มากขึ้นตามปริมาณงานที่มีอยู่ 3. อยู่ในระหว่างการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง ทั้งนี้ได้ตั้งคณะกรรมการติดตามและวิเคราะห์ผลการปฏิบัติราชการและประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยขึ้น เพื่อช่วยการทำงานประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยอีกทางหนึ่ง

วาระที่ ๓.๒ การติดตามผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้จากระบบสารสนเทศ MIS

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะพัฒนาการท่องเที่ยว

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก องค์การนักศึกษา

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก สภานักศึกษา

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะบริหารธุรกิจ

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก วิทยาลัยบริหารศาสตร์

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะศิลปศาสตร์

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะเทคโนโลยีกาประมงและทรัพยากรทางน้ำ

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะวิทยาศาสตร์

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะสารสนเทศและการสื่อสาร

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพของคณะฯ ได้เข้าร่วมอบรม TQA ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในระหว่างวันที่ 21 – 22 เมษายน 2553

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก หน่วยงานสนับสนุน คณะกรรมการประกันคุณภาพ หน่วยงานสนับสนุน ได้จัดทำคู่มือประกันคุณภาพภายใน ประจำปีงบประมาณ 2553 เพื่อใช้กับหน่วยงานระดับสำนัก 5 หน่วยงานแล้ว คือ สำนักงานอธิการบดี สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร สำนักบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ สำนักหอสมุด สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ อันประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ 21 ตัวบ่งชี้ สำนักงานอธิการบดี ได้ดำเนินการประกันคุณภาพภายในถึงระดับกองทุกกองที่อยู่ในสังกัด และในระดับสำนักได้จัดตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสำนักงานอธิการบดีขึ้น สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร จะจัดโครงการสัมมนาชี้แจงเพื่อถ่ายทอดตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพเพื่อสนองยุทธศาสตร์ด้านการจัดการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพขึ้น ในวันที่ 22 เมษายน 2553

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะผลิตกรรมการเกษตร

วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก คณะเศรษฐศาสตร์

วาระที่ ๔.๑ ผลการประเมินคุณภาพการสอนและสิ่งสนับสนุน ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๒ (ข้อมูล ณ วันที่ 15 เมษายน 2553) (235,733 records) 24,404 records 39,169 records 64,843 records จำนวนนักศึกษาที่เข้าประเมินผลฯ คิดเป็นร้อยละ 94.30

ผลการประเมินอยู่ในระดับดี(3. 41-4 ผลการประเมินอยู่ในระดับดี(3.41-4.20) 10 คณะ สู่งกว่าค่าเฉลี่ยมหาวิทยาลัย 10 คณะ

ผลการประเมินอยู่ในระดับดี(3. 41-4 ผลการประเมินอยู่ในระดับดี(3.41-4.20) 10 คณะ สู่งกว่าค่าเฉลี่ยมหาวิทยาลัย 10 คณะ

ผลการประเมินอยู่ในระดับดี(3. 41-4 ผลการประเมินอยู่ในระดับดี(3.41-4.20) 10 คณะ สู่งกว่าค่าเฉลี่ยมหาวิทยาลัย 10 คณะ

กำหนดเป็นนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการวิชาการ ประเด็นการพิจารณาการนำผลการประเมินคุณภาพการสอนและสิ่งสนับสนุนไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม กำหนดเป็นนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการวิชาการ นำผลการประเมินฯ เข้าที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะทุกภาคการศึกษา วิเคราะห์หัวข้อที่คณะ / มหาวิทยาลัยต้องปรับปรุง วางแผนปรับปรุงในภาคการศึกษาถัดไป ดำเนินการในภาคการศึกษาถัดไปอย่างเป็นรูปธรรม ประเมินและเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้น ควรต้องมีการบันทึกหลักฐานที่ชัดเจนทุกขั้นตอน เพราะเป็นตัวบ่งชี้ของ สกอ. ในปีการศึกษา 2553 ผู้บริหารคณะ ควรประกาศนโยบายและมีการปฏิบัติจริงในการนำไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน และการขอตำแหน่งวิชาการ

วาระที่ ๕ เรื่องอื้นๆ (ถ้ามี) 5.1