รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิธีมอบโล่และเกียรติบัตรการประกวดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
Advertisements

สถานการณ์น้ำในปัจจุบัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ผลการดำเนินงานของ Leprosy Control Program รอบ 6 เดือนแรก ประจำปี 2555
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เมษายน 2554
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนตุลาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สถานการณ์จังหวัดสระบุรี ปี 2555
สระบุรี นายขจรศักดิ์ สถาวรจันทร์ น.ส.สถาพร ลิ่มพันธ์
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา ธันวาคม 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 31 มกราคม 2552 สัปดาห์ที่ 4 ปี 2552 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา – น. ณ ห้องประชุม.
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
วาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผลจังหวัดสระบุรี ครั้งที่ ๑๐ ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ วันพุธที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ผังบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำแม่ต้า เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ “การรู้จักตนเองและทรัพยากรของเรา : กุญแจสู่การจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการและยั่งยืน.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สรุปงานระบาดวิทยาสถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ช่วงเดือนมกราคม - พฤษภาคม
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษาโรคพิษสุนัขบ้าในคน
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2559
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
ศูนย์ปฏิบัติการป้องกัน ควบคุมโรคตับอักเสบ ชนิด เอ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับ (1 ม. ค. 60 – 25 ธ. ค
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
แนวทางเร่งรัดการจัดซื้อ จัดจ้าง
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
สถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญของเขตสุขภาพที่ 5
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี วันที่ 1 มกราคม 2558 ถึง 28 พฤศจิกายน 2558

อัตราป่วยต่อแสนประชากร เปรียบเทียบประเทศและจังหวัดในเขตบริการสุขภาพที่ 4 ประเทศไทย ผู้ป่วย 117,013 ราย อัตราป่วย 179.68 ต่อแสน ประชากร เสียชีวิต 113 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.10 จ.สระบุรี ผู้ป่วย 1,399 ราย อัตราป่วย 220.85 ต่อแสนประชากร (สูงกว่าประเทศ เป็นลำดับ ที่ 24) เสียชีวิต 3 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 (สูงกว่าประเทศ เป็นลำดับที่ 12) แหล่งข้อมูล สำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2558

ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี ปี 2558 (1 มกราคม ถึง 28 พฤศจิกายน 2558) พื้นที่พบผู้ป่วย 4 สัปดาห์ล่าสุด (1 ถึง 28 พฤศจิกายน 2558) ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

พื้นที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 4 สัปดาห์ล่าสุด จังหวัดสระบุรี (ระหว่างวันที่ 1-28 พฤศจิกายน 2558)   อำเภอสีแดง อำเภอสีเหลือง สี พื้นที่ เฉลิมพระเกียรติ มวกเหล็ก เมือง พระพุทธบาท แก่งคอย หนองแค สีแดง พื้นที่เกิดโรค 3-4 สัปดาห์ ม.5 ต.หน้าพระลาน เร่งรัดควบคุมโดยทีมระดับจังหวัด (สป.42,44-47) สีเหลือง พื้นที่เกิดโรค 2 สัปดาห์ ม.3,11 ต.หน้าพระลาน ม.1,3 ต.มวกเหล็ก ม.6 ต.ตะกุด ม.5 ต.เขาวง ม.8 ต.ทับกวาง ม.1,8 ต.โคกแย้ เร่งรัดควบคุมโดยทีมระดับอำเภอ ม.8 ต.พุแค ม.10 ต.หนองย่างเสือ ม.3,9 ต.ขุนโขลน ม.10 ต.สองคอน ม.6 ต.หนองจรเข้ สีเขียว พื้นที่เกิดโรคสัปดาห์ล่าสุด ม.9 ต.ห้วยบง ม.2,9 ต.มิตรภาพ ช.เชิงเขา1,เขาคูบา2 ม.5,13 ต.พระพุทธบาท ม.2,5 ต.ทับกวาง ม.8 ต.หนองปลิง เร่งรัดควบคุมโดยทีมระดับตำบล ม.2 ต.บ้านแก้ง ต.ปากเพรียว ม.4 ต.ขุนโขลน ม.5 ต.ท่ามะปราง ช.หนองบอน ต.หนองแค ม.8 ต.ธารเกษม ม.7 ต.หินซ้อน ม.12 ต.นายาว ม.3 ต.ท่าคล้อ ม.4 ต.พุกร่าง ม.10 ต.ห้วยแห้ง สีขาว พื้นที่ปลอดโรค 4 สัปดาห์ต่อเนื่อง เฝ้าระวังโดยศูนย์ปฏิบัติการระดับอำเภอ โรงเรียน โรงเรียนที่พบผู้ป่วย 2 สัปดาห์ โรงเรียนหน้าพระลาน วิทยาลัยอาชีวะสระบุรี ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

พื้นที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 4 สัปดาห์ล่าสุด จังหวัดสระบุรี (ระหว่างวันที่ 1-28 พฤศจิกายน 2558)   อำเภอสีเขียว อำเภอสีขาว สี พื้นที่ วิหารแดง บ้านหมอ วังม่วง ดอนพุด เสาไห้ หนองแซง หนองโดน สีแดง พื้นที่เกิดโรค 3-4 สัปดาห์ เร่งรัดควบคุมโดยทีมระดับจังหวัด สีเหลือง พื้นที่เกิดโรค 2 สัปดาห์ เร่งรัดควบคุมโดยทีมระดับอำเภอ สีเขียว พื้นที่เกิดโรคสัปดาห์ล่าสุด ม.2,3,7 ต.หนองสรวง ม.4 ต.ไผ่ขวาง ม.1 ต.คำพราน ม.5,7 ต.บ้านหลวง ม.8 ต.ต้นตาล เร่งรัดควบคุมโดยทีมระดับตำบล ม.1 ต.สวนดอกไม้ สีขาว พื้นที่ปลอดโรค 4 สัปดาห์ต่อเนื่อง เฝ้าระวังโดยศูนย์ปฏิบัติการระดับอำเภอ ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

แนวทางปฏิบัติสำหรับพื้นที่สีแดง เร่งรัดการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มข้น โดยจัดให้มีอำเภอเพื่อนช่วยเพื่อน (Baddy) ดังนี้ ทีมอำเภอบ้านหมอ Baddy อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ทีมอำเภอเสาไห้ Baddy อำเภอมวกเหล็ก (สป.46=แดง) ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

การเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายอำเภอ จังหวัดสระบุรี ปี 2558 สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 กับ มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 พบว่าจำนวนผู้ป่วย 4 สัปดาห์ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และ สูงกว่าค่ามัธยฐาน ย้อนหลัง 5 ปี ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

การเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายอำเภอ จังหวัดสระบุรี ปี 2558 สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 กับ มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 พบว่าจำนวนผู้ป่วย 4 สัปดาห์ มีแนวโน้มลดลง แต่ยังสูงกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

การเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายอำเภอ จังหวัดสระบุรี ปี 2558 สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 กับ มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 พบว่าจำนวนผู้ป่วย 4 สัปดาห์ มีแนวโน้มคงที่ แต่ยังสูงกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

การเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายอำเภอ จังหวัดสระบุรี ปี 2558 สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 กับ มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 พบว่าจำนวนผู้ป่วย 4 สัปดาห์ มีแนวโน้มลดลงเท่ากับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

การเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายอำเภอ จังหวัดสระบุรี ปี 2558 สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 กับ มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี สัปดาห์ที่ 43 , 44 , 45 และ 46 พบว่าจำนวนผู้ป่วย 4 สัปดาห์ และค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี เท่ากับ ศูนย์ ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสระบุรี ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 1 มกราคม ถึง 28 พฤศจิกายน 2558 มีรายงานผู้ป่วย 1,467 ราย อัตราป่วย 232.63 ต่อแสนประชากร แนวโน้มพบผู้ป่วยเพิ่มขึ้นเป็น 3 เท่าของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 3 ราย อัตราตาย 0.48 ต่อแสนประชากร อัตราผู้ป่วยตาย ร้อยละ 0.20

แผนภูมิแสดงร้อยละผู้ป่วยไข้เลือดออกช็อค ไข้เลือดออก และไข้เดงกี่ ผู้ป่วยไข้เลือดออกช็อค จำนวน 34 ราย เสียชีวิต 3 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ 0.20 ผู้ป่วยไข้เลือดออก รวมทั้งสิ้น 1,467 ราย พบไข้เลือดออกช็อค จำนวน 34 ราย คิดเป็น ร้อยละ 2.36 ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

Day4 ผู้ป่วย DSS จำนวน 34 ราย เข้ารับการรักษาวันที่ 4 ร้อยละ 23.5 ผู้ป่วย DHF จำนวน 873 ราย เข้ารับการรักษาวันที่ 4 ร้อยละ 30.8 ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

แผนภูมิแสดงวันที่ผู้ป่วยไข้เลือดออกช็อคเข้ารับการรักษาพยาบาล จำนวน(ราย) วันที่เข้ารับการรักษา ผู้ป่วยไข้เลือดออกช็อค จำนวน 34 ราย เสียชีวิต 3 ราย มารักษา Day ที่ 1,4,12 ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

แผนภูมิแสดงวันที่ผู้ป่วยไข้เลือดออกช็อคเข้ารับการรักษาพยาบาล จำนวน(ราย) วันที่เข้ารับการรักษา ผู้ป่วยไข้เลือดออกช็อค จำนวน 34 ราย พบในกลุ่มอายุ 0-5 ปี ร้อยละ 17.6 พบมากที่สุด อำเภอมวกเหล็ก อายุ 5-14 ปี ร้อยละ 41.2 พบมากที่สุด อำเภอแก่งคอย อายุ > 15 ปี ร้อยละ 41.2 พบมากที่สุด อำเภอแก่งคอย ข้อมูลจากโปรแกรม R506 ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558

กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี