งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญของเขตสุขภาพที่ 5

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญของเขตสุขภาพที่ 5"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญของเขตสุขภาพที่ 5
นายแพทย์ชัยวัฒน์ จัตตุพร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

2 สถานการณ์โรค 10 อันดับแรก เขตสุขภาพที่ 5 ตั้งแต่เดือน มกราคม-17 ตุลาคม 2558
สถานการณ์โรคที่สูงสุดเป็นอันดับที่ 1 ได้แก่ อุจจาระร่วง จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ ไข้ไม่ทราบสาเหตุ ไข้เลือดออกรวม แหล่งที่มา : รง.506

3 สรุปรายงานสถานการณ์โรค ไข้เลือดออกรวม(26,27,66)

4 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 10 อันดับแรก จำแนกรายเขตสุขภาพ ตั้งแต่เดือน มกราคม-17 ตุลาคม 2558
ข้อมูลเฝ้าระวังโรค ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ตุลาคม 2558 พบผู้ป่วย ราย คิดเป็นอัตราป่วย ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 95 ราย อัตราตาย 0.15 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตาย 0.10 จำแนกเป็นเขตสุขภาพพบว่า อัตราป่วยต่อแสนประชากรสูงสุด 10 อันดับแรกได้แก่ เขตสุขภาพที่ 5 รองลงมาได้แก่ เขตสุขภาพที่ 6, 3, 10, 9, 1, 4, 2, 11 และ 7 ตามลำดับ เขต แหล่งที่มา : รง.506

5 อัตราผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต จำแนกรายเขตสุขภาพ ประเทศไทย ตั้งแต่เดือน มกราคม-17 ตุลาคม 2558
เขต 5 มีอัตราตายสูงสุด คิดเป็น 0.43 ต่อประชากรแสนคน(22 คน) เขต แหล่งที่มา : รง.506

6 อัตราผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต เขตบริการสุขภาพที่ 5 จำแนกรายจังหวัด ตั้งแต่เดือน มกราคม-17 ตุลาคม 2558 จังหวัด จังหวัดที่มีอัตราการเสียชีวิตสูงที่สุดคือจังหวัดเพชรบุรี รองลงมาคือจังหวัดราชบุรีและจังหวัดกาญจนบุรี คิดเป็น 0.86(4 ราย), 0.83(7 ราย) และ 0.6 (5 ราย)ตามลำดับ แหล่งที่มา : รง.506

7 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน เขตสุขภาพที่ 5 ปี 2557 และ 2558 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปี ( ) จำนวน(ราย) เดือน พบจำนวนผู้ป่วย ราย อัตราป่วยเท่ากับ ต่อประชากรแสนคน มีรายงานเสียชีวิต 22 ราย อัตราตาย 0.43 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตายเท่ากับร้อยละ 0.18 จำนวนผู้ป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐานทุกเดือน และตั้งแต่ต้นปีมีรายงานผู้ป่วยต่อเนื่องทุกเดือน พบสูงสุดเดือนสิงหาคม มีแนวโน้มลดลง และรูปแบบการระบาดต่อเนื่องมาจากครึ่งปีหลังของ พ.ศ. 2557 สำหรับการคาดการณ์พยากรณ์โรคพบว่าในเดือนกันยายน 743 ราย ตุลาคม 653 พฤศจิกายน 668 ธันวาคม 402 รายดังรูปด้านล่าง แหล่งที่มา : รง.506

8 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ 2558
มีการประชุม 14 ครั้ง นำโดยท่านสาธารณสุขนิเทศ ดร.นพ.พงษ์สวัสดิ์ รัตนแสง สาธารณสุขนิเทศก์เขต สุขภาพที่ 5 ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมโรคไข้เลือดออกระดับเขต โดยมีคณะ อำนวยการ ประกอบด้วย ผู้ตรวจราชการฯ สาธารณสุขนิเทศ ผู้อำนวยการสำนักงานเขต บริการสุขภาพ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการฯ และเลขาสาธารณสุข นิเทศก์ คณะทำงาน ประกอบด้วย ผชช.ว. ของแต่ละ จังหวัด หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคของ สสจ. ผู้รับผิดชอบงานระดับอำเภอที่รับผิดชอบเรื่องโรค ไข้เลือดออก ของทุกจังหวัดในเขตบริการสุขภาพที่ 5 และมอบให้ทางสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี ทำหน้าที่ เลขานุการ

9 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ 2558
การจัดตั้งมิสเตอร์ไข้เลือดออกในทุกระดับ ได้แก่ จังหวัด อำเภอ และตำบล ดำเนินการจัดทำสัปดาห์รณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทุก 3 เดือน กำหนดให้เป็นเขตปลอดลูกน้ำยุงลาย ค่า CI = 0 ในพื้นที่ เขตโรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และ บ้านพักเจ้าหน้าที่ ทุกแห่ง จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกทุกรพ.สต. ในพื้นที่ เขตสุขภาพที่ 5 ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัดประชาสัมพันธ์ผ่าน สื่อทุกช่องทาง เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หอกระจายข่าว เป็นต้น จัดให้แต่ละอำเภอสลับกันประเมินในแต่ละจังหวัด

10 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ 2558
จัดเตรียมความพร้อมทีม SRRT ในระดับ อำเภอ และตำบล ในการดำเนินงานควบคุมโรค การสอบสวนผู้ป่วยที่ติดเชื้อไข้เลือดออกในพื้นที่ทุกราย ภายใน 7 วัน นับจากวันที่ได้รับแจ้ง การดำเนินงานควบคุมโรคให้ยึดหลักปฏิบัติการ 3–3-1 และ ในทุกพื้นที่ ให้ดำเนินการเปิด War room ระดับอำเภอในกรณีที่มีผู้ป่วย ติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์ พร้อมรายงานผลการประชุมให้ทาง สำนักงานเขตสุขภาพที่ 5 ทราบภายใน 1 สัปดาห์หลังการ ประชุม พื้นที่ที่พบ gen 2 ในระดับตำบล ให้ทบทวนมาตรการในการ ดำเนินงานใหม่ โดยให้เน้นเชิง คุณภาพมากขึ้น หากพื้นที่ ใดพบยังมีปัญหาอยู่ ทีมไข้เลือดออกเขตจะลงนิเทศติดตาม จังหวัดอย่างใกล้ชิด ดำเนินการจัดทำ MOU ร่วมกับท้องถิ่นที่มีปัญหาด้านการ ดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออก

11 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ 2558
มอบหมายให้จังหวัดกาญจนบุรี จัดการอบรมพัฒนา ศักยภาพแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2558 และให้ แต่ละจังหวัดจัดทำแผนในการอบรมแพทย์จบใหม่ ให้ทุกโรงพยาบาลจัดเตรียมชุดตรวจ NS1 เพื่อใช้คัด กรองผู้ป่วยทุกแห่ง จัดทำแนวทางการรักษาติดไว้ในสถานพยาบาลทุกแห่งให้ ให้โรงพยาบาลทุกแห่งจัดเตรียมคู่มือแนวทางการดูแล ผู้ป่วยและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ดำเนินการจัดทำ Dead case conference

12 สรุปรายงานสถานการณ์โรคอุจาระร่วง

13 อัตราป่วยด้วยโรคอุจาระร่วง ในเขตสุขภาพที่ 5 จำแนกรายจังหวัด ตั้งแต่เดือน มกราคม-25 ตุลาคม 2558
จังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุดคือจังหวัดสมุทรสงคราม รองลงมาคือจังหวัดเพชรบุรี และสมุทรสาคร คิดเป็น 2403, และ 1740 ตามลำดับ จังหวัด แหล่งที่มา : รง.506

14 อัตราป่วยด้วยโรคอุจาระร่วง ในเขตสุขภาพที่ 5 จำแนกตามกลุ่มอายุที่สำคัญตั้งแต่เดือน มกราคม-25 ตุลาคม 2558 กลุ่มอายุที่มีอัตราป่วยสูงสุดคือ กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี รองลงมาคือกลุ่ม 15 – 24 ปี และกลุ่ม ปี คิดเป็น , 202 และ 191 ตามลำดับ อายุ แหล่งที่มา : รง.506

15 อัตราป่วยด้วยโรคอุจาระร่วง เขตสุขภาพที่ 5 ในกลุ่ม 0 – 5 ปี ตั้งแต่เดือน มกราคม-25 ตุลาคม 2558
สำหรับเด็ก อายุต่ำกว่า 5 ปี เด็ก อายุ 1 ปีถึง1 ปี 11 เดือน 29 วัน เป็นกลุ่มที่มีอัตราป่วยสูงสุด รองลงมา ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี คิดเป็น 79.06 อายุ แหล่งที่มา : รง.506

16 สรุปปัญหา โรคอุจจาระร่วงมีอัตราป่วยสูงที่สุดอย่าง ต่อเนื่อง
นโยบายผู้บริหารที่ให้ความสำคัญในการ ควบคุมป้องกัน เด็ก 1-2 ปีมีอัตราป่วยสูงสุดสะท้อนถึงทักษะ การดูแลของผู้ปกครอง

17 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ 2558
การดำเนินงานทางระบาดวิทยา เฝ้าระวัง เฝ้าระวังในคน (การซักประวัติผู้ป่วยที่มาด้วย อาการอุจจาระร่วง และการตรวจเชื้ออุจจาระร่วง ในผู้ป่วย) เฝ้าระวังในสิ่งแวดล้อม (เฝ้าระวังในน้ำดื่ม-น้ำใช้ เช่น การสุ่มตรวจคลอรีนตกค้าง) เฝ้าระวังเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง (เช่น โรงฆ่าสัตว์ ตลาดสด ร้านอาหารและแผงลอย)

18 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ 2558
การดำเนินงานทางระบาดวิทยา ป้องกัน การป้องกันและควบคุมสุขาภิบาลอาหารและ สิ่งแวดล้อม การสื่อสารประชาสัมพันธ์ การสอบสวนและควบคุมโรค หากพบว่ามีการระบาดของโรค ให้ทุกสถานบริการ แจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับตามพื้นที่ของการพบผู้ป่วย ดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรค ( ทีม SRRT)

19 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค, โรงเรียนอนุบาล ปลอดโรค และโรงเรียนปลอดโรค ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค โรงเรียนอนุบาลปลอดโรค โรงเรียนปลอดโรค อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน

20 สรุปรายงานสถานการณ์โรค AIDS

21 จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ เขตบริการสุขภาพที่ 5 ปี 2553 - 2557
แหล่งที่มา : โปรแกรม NAPDA

22 ผลการดำเนินงาน/สถานการณ์
รายละเอียด ปี 53 ปี 54 ปี 55 ปี 56 ปี 57 จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ 1581 1514 1290 1306 1321 มีข้อบ่งชี้ได้ยาต้านไวรัส 964 927 839 858 837 ได้รับต้านไวรัส 585 624 541 572 583 ระดับCD4 <100 cell 44.81% 45.44% 43.24% 48.56% 52.12% อัตรการติดเชื้อแรกเกิด(%) 4.2% 1.9% 1.8% 1.2% 2.7% จำนวนผู้เสียชีวิตจากเอดส์ -ได้รับยาต้าน 336 379 396 439 427 -ยังไม่ได้รับยาต้าน 430 376 338 342 316 จำนวนผู้ติดเชื้อผู้เอดส์และเป็นวัณโรคเสียชีวิต 43 35 32 31 81

23 สรุปปัญหา อัตราผู้ติดเชื้อรายใหม่มีแนวโน้มสูงขึ้น
จำนวนผู้ติดเชื้อผู้เอดส์และเป็นวัณโรค เสียชีวิต เป็นโรคที่มีความรุนแรงสูง

24 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ 2555-2558
Reach&Recruit เข้าหาและเชิญชวนเข้ารับบริการ Test การตรวจเลือดแบบรู้ผล วันเดียว , รูปแบบบริการที่เป็นมิตร, ตรวจหาการติดเชื้อเป็นประจำ Treat เข้ารักษาด้วยยาต้านไวรัส แต่เนิ่นๆ, บริการ ART ที่ได้คุณภาพ, รูปแบบบริการที่เป็นมิตร Retain ให้ผู้ป่วยคงอยู่ในระบบบริการ, มาตรวจ VCT ซํ้าอย่างสมํ่าเสมอ

25 สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค

26 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคแยกตามประเภท ของเขตสุขภาพที่ 5 ปี 2553-2557
จำนวน(ราย) จำนวนผู้ป่วยวัณโรคมีแนวโน้มลดลง จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่มีผลเสมหะพบว่ามีเชื้อและมีผลการ X-ray ปอดเข้าได้กับโรค มีแนวโน้มลดลง จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่มีผลเสมหะพบว่าไม่มีเชื้อและมีผลการ X-ray ปอดเข้าได้กับโรค มีแนวโน้มลดลง จำนวนผู้ป่วยวัณโรคนอกปอด มีแนวโน้มคงที่ จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่มีอาการกลับซ้ำมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น พ.ศ. แหล่งที่มา : รายงาน TB.07,TB.08 รวบรวมข้อมูลโดย สคร 5

27 อัตราป่วยด้วยวัณโรค เขตสุขภาพที่ 5 ปี 2553-2557
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยด้วยวัณโรค เขตสุขภาพที่ 5 จำแนกรายจังหวัด ปี 2557 มีแนวโน้มลดลง พ.ศ. แหล่งที่มา : รายงาน TB.07,TB.08 รวบรวมข้อมูลโดย สคร 5

28 อัตราป่วยด้วยวัณโรค เขตสุขภาพที่ 5 จำแนกรายจังหวัด ปี 2557
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยด้วยวัณโรค เขตสุขภาพที่ 5 จำแนกรายจังหวัด ปี 2557 พบว่า จังหวัดสมุทรสาครมีอัตราสูงที่สุด รองลงมาเป็นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และจังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัด แหล่งที่มา : รายงาน TB.07,TB.08 รวบรวมข้อมูลโดย สคร 5

29 อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค เขตสุขภาพที่ 5 ปี 2553-2557
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่เขารับการรักษาวัณโรค ตั้งแต่ปี ส่วนใหญ่ประสบความสำเร็จในการรักษา คิดเป็นร้อยละ ในปี 2557 รองลงมาเป็นผู้ป่วยเสียชีวิต พบร้อยละ 8.38 ในปี 2557 พ.ศ. แหล่งที่มา : รายงาน TB.07,TB.08 รวบรวมข้อมูลโดย สคร 5

30 สรุปปัญหา อำเภอท่ามะกาเป็น Hotspot ของ MDR-TB
อัตราการรักษาล้มเหลวมีแนวโน้มสูงขึ้น ยังมีผู้เสียชีวิตจากวัณโรค สถานการณ์เอดส์มีแนวโน้มสูงขึ้นส่งผลต่อ การแพร่ระบาดของวัณโรค

31 กิจกรรมที่ได้ดำเนินการใน ปีงบประมาณ 2558
การดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค เช่น ติดตามการรักษาผู้ป่วย วัณโรค การกำกับการกินยา การเยี่ยมบ้าน เร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้ต้องขัง ผู้สูงอายุ และผู้สัมผัสใกล้ชิด การนิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงานวัณโรค นิเทศงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน DOTS และพัฒนา ระบบสารสนเทศด้วยโปรแกรม TBCM พัฒนาคลินิกวัณโรคให้ผ่านเกณฑ์คลินิกวัณโรคที่มี คุณภาพระดับ A

32 กิจกรรม งบประมาณ 1.ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามสถานการณ์โรคและผลการดำเนินงาน 6 ครั้ง(ทุก 2 เดือน) (สัปดาห์แรก ของเดือนพ.ย.58/ม.ค.59/มี.ค.59/พ.ค.59/ก.ค.59/ก.ย.59) ค่าอาหารกลางวัน 25 คน*150 บาท*6 ครั้ง(22,500 บาท) ค่าอาหารว่างเครื่องดื่ม 25คน*50 บาท*6 ครั้ง(7,500บาท) ค่าวัสดุสนง. ครั้งละ 1,000 บาท*6 ครั้ง (6,000 บาท) รวมเป็นเงิน 36,000 บาท 2.วิเคราะห์สถานการณ์โรครายเดือน แจ้งคณะทำงานทาง และ ไลน์กลุ่ม ทุกเดือน - 3.นิเทศติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจังหวัดที่มีผลการดำเนินงานดีเด่น 2 จังหวัดๆละ 1 วัน ค่าอาหารกลางวัน 25 คน*150 บาท*2 ครั้ง(7,500 บาท) ค่าอาหารว่างเครื่องดื่ม 25คน*50 บาท*2 ครั้ง(2,500บาท) รวมเป็นเงิน 10,000 บาท 4.สรุปผลการดำเนินงานสิ้นปีงบประมาณ 2559 ค่าอาหารกลางวัน 25 คน*150 บาท(3,750 บาท) ค่าอาหารว่างเครื่องดื่ม 25คน*50 บาท (1,250บาท) ค่าวัสดุ สนง. 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 6,000 บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้น 52,000 บาท

33 The End.


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญของเขตสุขภาพที่ 5

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google