บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดและความหมาย การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีการบริหารทรัพยากรมนุษย์
แนวคิดและความหมาย ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ = ระบบที่ใช้สนับสนุนการทำงานภายใต้กิจกรรมด้านต่าง ๆ ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ = มีจุดมุ่งหมายให้กับผู้ใช้สารสนเทศ 2 ประเภทคือ ผู้ใช้ภายในธุรกิจ ผู้ใช้ภายนอกธุรกิจ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ = การนำหลักการบริหารงานบุคคล มาใช้เพื่อเชื่อมโยงกับ ความสัมพันธ์ของการดำเนินงาน และพฤติกรรมของบุคคล ในองค์การ โดยมีจุดเน้นที่การพัฒนาบุคคล และการจัดการ ด้านศักยภาพของบุคคลที่เกิดจากประสบการณ์ เพื่อนำไปสู่ ความสำเร็จขององค์การตามเป้าหมาย =
องค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. ผู้บริหาร สูง กลาง ต้น 2. การบริหาร P O S D C 3. ทรัพยากรมนุษย์ ทุนด้านมนุษย์ (Human Capital) ทุนทางปัญญา ทุนโครงสร้าง (Structural Capital) ทุนลูกค้า (Customer Capital)
หลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) 2. ระบบคุณธรรม (Merit System) 2.1 หลักความรู้ 2.2 หลักความสามารถ 2.3 หลักความมั่นคง 2.4 หลักความเป็นกลางจากการเมือง
ภารกิจการบริหารทรัพยากรมนุษย์ - การสรรหา (Recruitment) - การพัฒนา (Development) - การธำรงรักษา (Retention) - การใช้ประโยชน์ (Utilization) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การวางแผน / จัดสรรบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน / การพัฒนาตนเอง / มีขวัญและกำลังใจในการทำงาน / มีสภาพการทำงานที่ดีขึ้น / มีความสามัคคี / รักองค์การ ประเทศชาติมีฐานะเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
สารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ = สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลของระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งมักเกิดขึ้นซ้ำ ๆ กันเป็นวัฏจักร เริ่มตั้งแต่มีการสรรหาและว่าจ้างบุคลากร เข้าทำงาน จนกระทั่งบุคคลนั้นพ้นสภาพจากการเป็นบุคลากร ขององค์การไป =
การจำแนกประเภท (แบ่งตามระดับผู้บริหาร) 3. สารสนเทศเชิงกลยุทธ์ ผู้บริหาร ระดับสูง 2. สารสนเทศเชิงกลวิธี ผู้บริหารระดับกลาง 1. สารสนเทศเชิงปฏิบัติการ ผู้บริหารระดับต้น ระดับปฎิบัติการ
1. สารสนเทศเชิงปฏิบัติการ 1.1 สารสนเทศด้านการคัดเลือก 1.2 สารสนเทศด้านการบรรจุเข้ารับตำแหน่งงาน 1.3 สารสนเทศด้านประวัติบุคลากร 1.4 สารสนเทศด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1.5 สารสนเทศด้านการจ่ายเงินเดือน
2. สารสนเทศเชิงกลวิธี 2.1 สารสนเทศด้านการสรรหา 2.2 สารสนเทศด้านการวิเคราะห์งาน 2.3 สารสนเทศด้านการควบคุมตำแหน่ง 2.4 สารสนเทศด้านสวัสดิการและผลประโยชน์ 2.5 สารสนเทศด้านการพัฒนาและฝึกอบรม
3.สารสนเทศเชิงกลยุทธ์ 3.1 สารสนเทศด้านการวางแผนอัตรากำลัง 3.2 สารสนเทศด้านการเจราจาต่อรองแรงงาน
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ มี 8 ระบบย่อย ดังนี้ 1. ระบบวางแผนอัตรากำลังคน 2. ระบบวิเคราะห์งาน 3. ระบบสรรหาและคัดเลือก 4. ระบบบุคลากร 5. ระบบจ่ายค่าจ้างและเงินเดือน 6. ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 7. ระบบพัฒนาและฝึกอบรม 8. ระบบสวัสดิการและผลประโยชน์
ข้อมูลภายใน ข้อมูลภายนอก 1. ระบบวางแผนอัตรากำลังคน โปรแกรม การวางแผน ผู้บริหาร ระดบกลาง ผู้บริหารระดับสูง ข้อมูลภายนอก ข้อมูล อัตรากำลังคน รูปที่ 5.1 กระบวนการธุรกิจของระบบการวางแผนอัตรากำลังคน
ข้อมูลภายใน ข้อมูลภายนอก 2. ระบบวิเคราะห์งาน โปรแกรม การวิเคราะห์งาน JD JS บัญชีรายชื่อตำแหน่งงาน บัญชีรายชื่อตำแหน่งงานว่าง ข้อมูลภายใน โปรแกรม การวิเคราะห์งาน ผู้บริหาร ระดับล่าง ผู้บริหารระดับกลาง ข้อมูลภายนอก ข้อมูล ตำแหน่งงาน ข้อมูล วิเคราะห์งาน รูปที่ 5.2 กระบวนการธุรกิจของระบบการวิเคราะห์งาน
ผู้สมัครทางอินเตอร์เน็ต 3. ระบบสรรหาและคัดเลือก ข้อมูล ผู้สมัคร ข้อมูลภายใน ผู้สมัครงาน ผู้สมัครทางอินเตอร์เน็ต โปรแกรม รับสมัครงาน - รายงานสถิติ รายชื่อ แบบฟอร์ม การสัมภาษณ์ เจ้าหน้าที่สรรหา ประกาศรับสมัครงาน ใบสมัครงาน จดหมายเรียกสัมภาษณ์ ข้อมูลภายนอก กรรมการ สอบสัมภาษณ์ ผู้สมัครงาน รูปที่ 5.3 กระบวนการธุรกิจด้านการสรรหาบุคคล
ผู้สมัครที่ผ่านการคัดเลือก แบบฟอร์มการสัมภาษณ์ รายงานผล การสัมภาษณ์ สัมภาษณ์ กรรมการ สอบสัมภาษณ์ จดหมายเรียกสัมภาษณ์ โปรแกรม การคัดเลือก ข้อมูล ผู้สมัคร จดหมาย ผู้สมัครงาน แจ้งผลการสัมภาษณ์ ข้อมูล ผู้สมัครที่ผ่านการคัดเลือก รูปที่ 5.4 กระบวนการธุรกิจด้านการคัดเลือกบุคคล
ข้อมูลประวัติบุคลากร 4. ระบบบุคลากร ข้อมูลผู้สมัคร ที่ผ่านการคัดเลือก ข้อมูลประวัติบุคลากร โปรแกรม บุคลากร ผู้ผ่านการคัดเลือก คำสั่งบรรจุบุคลากร ข้อมูล บุคลากร ข้อมูล ตำแหน่งงาน บัตรประจำตัว บุคลากร รูปที่ 5.5 กระบวนการธุรกิจในส่วนบรรจุเข้ารับตำแหน่งและทะเบียนประวัติบุคคล
3 1 4 2 ข้อมูล บุคลากร ข้อมูล การทำงาน ใบขอทำงาน ล่วงเวลา ผู้อนุมัติ ผู้บริหาร ระดับล่าง ใบขอทำงาน ล่วงเวลา ผู้อนุมัติ การตรวจลายนิ้วมือ 1 4 โปรแกรม บันทึก เวลาทำงาน บุคลากร รายงานการบันทึกเวลา รายงานประวัติการลา รายงานการทำงานล่วงเวลา รายงานสรุปเวลาการทำงาน 2 ใบลา ผู้อนุมัติ ใบลาที่อนุมัติแล้ว รูปที่ 5.6 กระบวนการธุรกิจในส่วนการบันทึกเวลาทำงาน
5. ระบบจ่ายค่าจ้างและเงินเดือน ข้อมูล ตำแหน่งงาน ใบจ่ายเงินเดือน บุคลากร ข้อมูล การทำงาน ข้อมูล เงินเดือน ธนาคาร ข้อมูลเงินเดือน นำส่งธนาคาร ข้อมูล อัตราภาษี โปรแกรมเงินเดือน ผู้บริหาร ข้อมูล ค่าลดหย่อน รายงานสรุปการจ่าย เงินเดือนแยกตามแผนก รูปที่ 5.7 กระบวนการธุรกิจในส่วนการจ่ายค่าจ้างและเงินเดือน
6. ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 1 5 4 ข้อมูล การประเมิน ผู้ประเมิน บุคลากร ประเมินผล ทางอินเตอร์เน็ต ข้อมูล ผลงาน รายงานประเมินผลการปฏิบัติงาน 3 รายงานการปรับเงินเดือน 2 โปรแกรม ประเมินผล การปฏิบัติงาน ตารางสถิติคะแนนประเมินผล ผลการประเมิน ข้อมูล การทำงาน ใบประเมินผล การปฏิบัติงาน 9 8 7 ข้อมูล ผลการประเมิน แบบจำลอง โครงสร้าง เงินเดือน ข้อมูล บุคลากร 6 โปรแกรมปรับเงินเดือน รูปที่ 5.8 กระบวนการธุรกิจในส่วนการประเมินผลการปฏิบัติงาน
7. ระบบพัฒนาและฝึกอบรม บุคลากร ผู้บริหาร 2 1 โปรแกรม พัฒนา บุคลากร 3 4 ข้อมูล การประเมิน โปรแกรม พัฒนา บุคลากร จดหมายแจ้งการฝึกอบรม บุคลากร แผนการ ฝึกอบรม ข้อมูล ตำแหน่งงาน 3 4 5 โปรแกรม ฝึกอบรม รายงานประเมินการฝึกอบรม รายงานค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ข้อมูล วิเคราะห์งาน รายงานฝึกอบรมประจำปี ข้อมูล การฝึกอบรม ข้อมูล หลักสูตร ข้อมูล บุคลากร ข้อมูล วิทยากร ผู้บริหาร รูปที่ 5.9 กระบวนการธุรกิจในส่วนการพัฒนาและฝึกอบรม
ข้อมูลภายใน ข้อมูลภายนอก 8. ระบบสวัสดิการและผลประโยชน์ บุคลากร ข้อมูล แสดงข้อมูล ทางอินเตอร์เน็ต บุคลากร โปรแกรม วางแผน ผลประโยชน์ ผู้บริหารระดับกลาง ตาราง ผลประโยชน์ ข้อมูลภายนอก รูปที่ 5.10 กระบวนการธุรกิจในส่วนการวางแผนด้านผลประโยชน์
- รายงานการขอใช้สิทธิ รายงานประกันสังคม ข้อมูล บุคลากร ข้อมูล การใช้สิทธิ 6 3 สำนักงาน ประกันสังคม 1 2 โปรแกรม สวัสดิการ ผลประโยชน์ 5 บุคลากร - รายงานการขอใช้สิทธิ รายงานการเบิกค่า สวัสดิการ หลักฐาน การเบิกเงิน ผู้บริหาร 4 บุคลากร ข้อมูล สวัสดิการ ข้อมูล ผลประโยชน์ รูปที่ 5.11 กระบวนการธุรกิจในส่วนการใช้สิทธิเบิกค่าสวัสดิการและผลประโยชน์
เทคโนโลยีการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. โปรแกรมสำเร็จรูปทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2. การใช้งานอินทราเน็ต 3. การจัดการทรัพยากรบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์
1. โปรแกรมสำเร็จรูปทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ + ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS) 1.1 โปรแกรมบันทึกเวลาการทำงาน 1.2 โปรแกรมการจ่ายเงินเดือน 1.3 โปรแกรมบริหารด้านทุนมนุษย์
2. การใช้งานอินทราเน็ต ตัวอย่าง ม.กรุงเทพ
3. การจัดการทรัพยากรบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์ 3.1 การจัดองค์การเสมือนจริง 3.1.1 การประชุมทางไกล 3.1.2 การประชุมผ่านวิดิทัศน์ 3.2 การสรรหาอิเล็กทรอนิกส์ 3.3 เว็บศูนย์รวมด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3.4 การประเมินผลการปฏิบัติงานทางอิเล็กทรอนิกส์ 3.5 การเรียนอิเล็กทรอนิกส์
Any Problem?