การประชุมชี้แจงแผนการตรวจราชการและนิเทศงาน เขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 2559 โดย : นายแพทย์ยอร์น จิระนคร สาธารณสุขนิเทศก์
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 (เน้นหนัก) ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 1. กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0 – 5 ปี) 2.กลุ่มเด็กวัยเรียน(5– 14 ปี) 3.กลุ่มเด็กวัยรุ่น(15– 21 ปี) 4. กลุ่มวัยทำงาน (15– 59 ปี) 5. กลุ่มผู้สูงอายุ(60 ปีขึ้นไป)และกลุ่มคนพิการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐานครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ 6. ด้านระบบบริการปฐมภูมิ 7. ด้านระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ 8. ด้านระบบควบคุมโรค 9. ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 10. ด้านการป้องกันและบำบัดรักษายาเสพติด ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ 13. การบังคับใช้กฎหมาย 14. สิ่งแวดล้อม 15. พัฒนาบุคลากร 16. การเงินการคลัง 17.ยาและเวชภัณฑ์/พัสดุ 18.ปราบปรามทุจริต ๑. LTC บูรณาการ ๕ กลุ่มวัย ในตำบลต้นแบบ ๒. ลดอุบัติเหตุ ๓. Service Plan ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดเวลารอคอยในการส่งต่อ ๔. NCD เริ่มจากลด CKD นำสู่ลด DM HT ๕. บริหารจัดการ HR ,Finance,พัสดุ โปร่งใส ๖. ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบดูแลภาวะฉุกเฉิน PHEM ๗. มะเร็งท่อน้ำดีและพยาธิใบไม้ในตับ ๘. การพัฒนากฎหมาย ๙. การพัฒนาการผลิตยา/วัคซีน ๑๐.การเร่งรัดออกใบอนุญาตของ อย. 21KPI กสธ. PA แผนการตรวจราชการ ปี 2559 คณะ 1 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย และระบบควบคุมโรค คณะ 2 การพัฒนาระบบบบริการ คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ คณะ 4 การพัฒนาระบบสนับสนุนงานด้านสุขภาพ คณะ 5 ตรวจบูรณาการ
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ ๑๒ ปี ๒๕๕๙ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม Service Plan ควบคุมโรคติดต่อ พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย ลดการตายจากอุบัติเหตุ ลดป่วย/ตายด้วยไข้เลือดออก ลดแม่ตาย ลดตายของทารกแรกเกิด โรคเรื้อน ลดตายด้วยโรคมะเร็ง ลดพัฒนาการล่าช้า อนามัยสิ่งแวดล้อม ลดการตายด้วย โรคหัวใจและหลอดเลือด ลดเด็กผอม/เตี้ย ขยะติดเชื้อ / EHA สุขาภิบาลอาหารใน ศพด/รร ลดตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น ลดผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ลดการตายด้วย โรคหลอดเลือดสมอง ลดการสูบบุหรี่ คุ้มครองผู้บริโภค ลดผู้สูงอายุติดเตียง ลด ฟันผุ น้ำดื่ม/น้ำแข็ง เครื่องสำอาง/ร้านยาคุณภาพ ระบบบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม การบริหารจัดการเงินการคลัง สาธารณสุขชายแดนใต้ ตำบลจัดการสุขภาพ ๕ กลุ่มวัย แบบบูรณาการ การจัดการยาและเวชภัณฑ์ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน การจัดการกำลังคน คุณภาพชีวิตผู้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ความไม่สงบ ธรรมาภิบาล ระบบข้อมูลสุขภาพ ยาเสพติด
PA ระดับเขต Service plan 1.1. ลดอัตราผู้ป่วย STEMI เสียชีวิต เป้าหมาย น้อยกว่าร้อยละ 7 1.2. ลดอัตราผู้ป่วย Ischemic strokeเสียชีวิต เป้าหมายร้อยละ 6 2.ระบบควบคุมโรค 2.1 ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เป้าหมาย อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก(ต่อแสนประชากร) ไม่เกิน 70
PA ระดับจังหวัด จังหวัด ตัวชี้วัด สงขลา -อัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลงจากปี 2558 ร้อยละ 8 สตูล -อัตราผู้ป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันลดลงลดลงร้อยละ๒ จากปี ๕๘ ตรัง -ลดอัตราการตายด้วยมะเร็งเต้านม อัตราการตายด้วยมะเร็งเต้านม( ต่อแสนการเกิดมีชีพ) < ๕ พัทลุง -ลดอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ในเด็กอายุต่ำกว่า ๒ ปี ลดลงจาก ปี 2558 ไม่น้อย กว่า ๕ %
PA ระดับจังหวัด จังหวัด ตัวชี้วัด ปัตตานี -อัตราความครอบคลุมโดยเฉลี่ยของการรับวัคซีนวัคซีนรวม คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) ครบ 5 ครั้ง ตามกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ5 ปีเต็ม ร้อยละ 85 ยะลา ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี เป้าหมาย 90 นราธิวาส เด็กอายุ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๘๕)
คณะ1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค กลุ่มวัยเรียน ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. ระบบเฝ้าระวังมารดาตาย 2. การพัฒนาเด็กปฐมวัย - ระบบบริหารจัดการดูแลสุขภาพ แม่และเด็ก - การจัดการระบบข้อมูลมารดาตาย / เด็กปฐมวัย - การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและ ลดปัจจัยเสี่ยงของมารดา/เด็กปฐมวัย - ระบบบริการที่มีคุณภาพ 1.การสร้างทีมเครือข่ายผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ 2. ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน - การถ่ายทอดโปรแกรมนักจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher: SKC) สู่โรงเรียนเป้าหมาย/สถานบริการสาธารณสุข - การคัดกรอง ส่งต่อ การจัดการแก้ไขปัญหา และการรายงานผล 1. ทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen Manager) 2. ระบบเชื่อมโยงการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (OHOS) 3. การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการตั้งครรภ์ซ้ำ 4. การป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น 1.ป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน - การบริหารจัดการข้อมูลและการสอบสวนอุบัติเหตุ - มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน - มาตรการองค์กร 2. อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ - ลดพฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงในประชากร - พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล 1.ผู้สูงอายุ - การบริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุและฐานข้อมูล การบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ - การดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงแบบระยะยาว (Long term care) 2. ผู้พิการ - การพัฒนาระบบดูแลสุขภาพคนพิการที่มีคุณภาพ - การปรับสภาพแวดล้อม และมีสิ่งอำนวยความสะดวก 1. การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 2. การเตรียมความพร้อมในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค 3. การตอบโต้สถานการณ์หรือภาวะ ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขของทีม SRRT 4. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ในการป้องกันควบคุมโรค 5. การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย กลุ่มวัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ-ผู้พิการ ระบบควบคุมโรค
คณะ 2 การพัฒนาระบบบริการ Service Plan 12 สาขา 1. สาขาหัวใจ 2 สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 3. สาขามะเร็ง 4. สาขาทารกแรกเกิด 5. สาขาไต 6. สาขาตา 7. สาขาสุขภาพช่องปาก 8. สาขาสุขภาพจิต จิตเวช และยาเสพติด 9. 5 สาขาหลัก 10. สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD) 11. สาขาปฐมภูมิและสุขภาพ องค์รวม 12. สาขาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ผสมผสาน ประเด็นตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. เขตสุขภาพต้องกำหนดความต้องการ ด้านสุขภาพ (Health Needs) โดยพิจารณา 1) การลด Morbidity, Mortality 2) Access to Care 3) Equity Quality Efficiency (EQE) 2. การจัดบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) โดย Designed Services จากการ Analyze GAP ของ Health Needs เพื่อหาส่วนขาด และจัดทำแผนรองรับ Service Plan ของเขตสุขภาพในรูปแบบ One Hospital, One Region 3. ระบบสนับสนุน (Supportive System) การพัฒนาระบบบริการในด้านต่างๆ ดังนี้ 1)กำลังคนด้านสุขภาพ (Health workforce) 2) ระบบข้อมูลสารสนเทศ (Information system and sharing) 3) ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน และ เทคโนโลยี 4) ระบบการเงินการคลังสาธารณสุข (Financing) 5) การอภิบาลระบบสุขภาพ (Leadership and Governance) 4. การถอดเป็น Service Planระดับกระทรวงเพื่อได้ Investment Plan
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1)ประสิทธิภาพในการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ. 2557 การสั่งใช้และการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาอย่างสมเหตุผล จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรโดยการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในพื้นที่ (Integrate & Participation) ครอบคลุมปัญหาทั้งด้านบริหาร บริการและสนับสนุน กลไกและระบบสนับสนุนในการพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพเกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย (Input, Process, output/ outcome, Feedback) การกำกับ ติดตามการพัฒนาบุคลากรของจังหวัด การเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรของหน่วยงานให้มีวินัย และป้องกันการกระทำผิดวินัย 2) การตรวจสอบภายใน 3) หน่วยงานคุณธรรม ด้านการเงินการคลัง ด้านยาและเวชภัณฑ์ ธรรมาภิบาล การพัฒนาบุคลากร
คณะ 4 การพัฒนาระบบสนับสนุนงานด้านสุขภาพ ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น จังหวัดมีการกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและน้ำแข็ง จังหวัดมีการกำกับดูแลคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของนมโรงเรียน 3. การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพผิดกฎหมาย 4. การดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของจังหวัด 5. คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม ได้รับการเฝ้าระวังและสถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับการดำเนินการตามกฎหมายครองผู้บริโภคของจังหวัด 6. การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของเขต จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการ มูลฝอยทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ถูกหลักสุขาภิบาล ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
คณะ 5 การตรวจราชการแบบบูรณาการร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. การจัดทำแผน มาตรฐาน มาตรการ เกณฑ์การปฏิบัติ กฎหมาย : แผนงานบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 2. การเพิ่มศักยภาพการเก็บและกำจัด 1) โครงการพัฒนาระบบการจัดการขยะให้ถูกสุขลักษณะ 2) โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการขยะติดเชื้อและของเสียทางการแพทย์ให้ถูกสุขลักษณะ 3) โครงการส่งเสริมการจัดการน้ำเสียให้ถูกสุขลักษณะเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ 4) โครงการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่วิกฤติด้านมลพิษอากาศ 3. การเสริมสร้างศักยภาพและถ่ายทอดองค์ความรู้ 1) โครงการสนับสนุนบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล โครงการอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้วยการส่งเสริมใช้สมุนไพรในครัวเรือน และการแปรรูปสมุนไพร การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ
ปฏิทินการตรวจราชการปีงบประมาณ 2559 จังหวัด รอบที 1 รอบที 2 สตูล 27 – 29 มกราคม 2559 8-10 มิถุนายน 2559 ปัตตานี 3 –5 กุมภาพันธ์ 2559 13- 15 กรกฎาคม 2559 พัทลุง 10 - 12 กุมภาพันธ์ 2559 15 – 17 มิถุนายน 2559 นราธิวาส 24 – 26 กุมภาพันธ์ 2559 6- 8 กรกฎาคม 2559 ตรัง 2 – 4 มีนาคม 2559 3 - 5 สิงหาคม 2559 สงขลา 9 – 11 มีนาคม 2559 22 – 24 มิถุนายน 2559 ยะลา 16 – 18 มีนาคม 2559 27 -29 กรกฎาคม 2559
ระยะเวลาในการตรวจราชการ การตรวจราชการกรณีปกติ ปีละ 2 รอบ ได้แก่ รอบที่ 1 ระหว่างเดือน มกราคม - มีนาคม 2559 เพื่อสอบทานความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล (วิเคราะห์ปัญหา/จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ) และติดตามความความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ให้ข้อเสนอแนะเพื่อหน่วยรับตรวจนำไปปรับปรุงแนวทางการดำเนินการให้เกิดผลเป็นรูปธรรม และประมวลสรุปปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อส่วนกลางและผู้บริหาร
รอบที่ 2 ระหว่างเดือน มิถุนายน – สิงหาคม 2559 เป็นการติดตามประเมินผลตาม ประเด็นการตรวจราชการ และประมวลสรุปปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อส่วนกลาง และผู้บริหาร
รูปแบบแนวทางการตรวจราชการ กำหนดการลงพื้นที่ จังหวัดละ 3 วัน ดังนี้ วันที่ 1 -ช่วงเช้า - รับฟังการนำเสนอผลงานดำเนินงานของ สสจและ รพศ/รพท -ช่วงบ่าย – ทีมตรวจราชการเข้าเก็บรวบรวมข้อมูล วันที่ 2 -ช่วงเช้า - ทีมตรวจราชการลงตรวจเยี่ยมพื้นที่ อำเภอ........ -ช่วงบ่าย – ทีมตรวจราชการลงตรวจเยี่ยมพื้น รพ.สต...........
รูปแบบแนวทางการตรวจราชการ (ต่อ) วันที่ 3 -เวลา 08.00 – 09.00 น - ประชุมทีมตรวจราชการเพื่อสรุปประเด็นสำคัญ/ข้อค้นพบจากการตรวจราชการในภาพรวม -เวลา 09.00– 12.00 น - นำเสนอผลการตรวจราชการให้หน่วยงานที่รับตรวจทราบ
แนวทางการนำเสนอ ระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด : นำเสนอภาพรวมของจังหวัด 1) ข้อมูลทั่วไป ทรัพยากรสาธารณสุข สถานะสุขภาพ 2) แผนการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2559 และปัญหาสุขภาพที่สำคัญในภาพรวมจังหวัด โดย วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ปัญหา (Based Line & Evidence based) ระดับจังหวัดเปรียบเทียบระดับประเทศรายปี (ย้อนหลัง 3-5 ปี) มาตรการสำคัญ และความก้าวหน้าผลการดำเนินงานรายไตรมาส (Small Success) * นำเสนอในประเด็นที่สำคัญ รายละเอียดให้ปรากฏในเอกสารประกอบการนำเสนอ
ระดับ รพศ./รพท. นำเสนอการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) และการบริหารจัดการของหน่วยบริการ
ระดับ คปสอ. เสนอผลการดำเนินงานภาพรวมของอำเภอ 1) ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลสุขภาพ การให้บริการ งาน P&P,FCT,LTC 2) การบริหารจัดการในภาพรวมของ คปสอ. (โครงสร้างการดำเนินงาน การจัดทำแผนงานและแผนเงิน การกำกับติดตามงาน และระบบสนับสนุนการดำเนินงาน รพ.สต.) 3) ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในภาพรวม คปสอ. และแผน/ผลการดำเนินการแก้ไขปัญหา 3) การพัฒนาระบบบริการของหน่วยบริการใน คปสอ. (Service Plan) 4) การขับเคลื่อนงานสุขภาพระดับอำเภอแบบมีส่วนร่วมจากภาคส่วนในพื้นที่ โดยใช้กลไก DHS 5) การบริหารจัดการของหน่วยบริการ (สถานการณ์และการบริหารการเงินการคลัง, การบริหารยาและเวชภัณฑ์, การพัฒนาบุคลากร และระบบธรรมาภิบาล) 6) งานคุณภาพ และงาน Innovation 7) ปัญหาอุปสรรค และสิ่งที่ต้องการสนับสนุน
ระดับ รพ.สต. 1) นำเสนอผลการดำเนินงานปฐมภูมิและการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคในระดับตำบลลงสู่หมู่บ้าน/ชุมชน 2) การจัดบริการเฉพาะงาน Services ในระดับ รพ.สต. งาน FCT, Primary Care (CANDO ) Home visit, LTC, Home Health Care Home Beds, Best Practice, Innovation 3) ปัญหาอุปสรรค และสิ่งต้องการสนับสนุน
กำหนดการส่งรูปเล่มข้อมูลการตรวจราชการ กำหนดให้ส่งข้อมูลในภาพรวมของจังหวัดก่อนการลงพื้นที่ในแต่จังหวัด อย่างน้อย 1 สัปดาห์ก่อนการลงพื้นที่ในแต่ละจังหวัด
Monitoring and Evaluation Small Success 3เดือน 6เดือน 9 เดือน 12 เดือน