การศึกษากระบวนการดำเนินการพัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด.
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา นับว่ามีบทบาทสำคัญในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วย วิวัฒนาการและการพัฒนาทางการศึกษาที่ไม่หยุดยั้งนี้เอง.
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อการบริหารงานของ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบุคลากร โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับผู้ใต้บังคับบัญชา.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
การบริหารโดยใช้รูปแบบบูรณาการด้านงานวิชาการและ การจัดการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับแก้ปัญหา การจัดทำวิจัย กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
วัตถุประสงค์การวิจัย
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษากระบวนการดำเนินการพัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม ชื่อผลงานวิจัย การศึกษากระบวนการดำเนินการพัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม ชื่อผู้วิจัย กุสุมา หาญกล้า

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม โดยใช้วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรีเป็นฐาน (SBM)ในปีการศึกษา 2557 2. เพื่อศึกษาผลการดำเนินการ พัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม ตามโครงการ / กิจกรรม ที่ได้ดำเนินการในปีการศึกษา 2557

กรอบแนวคิดในการวิจัย SBM

ตัวแปรการวิจัย ตัวแปรต้น ได้แก่ ผู้บริหารวิทยาลัย คณะครูอาจารย์ พนักงาน คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย(ยกเว้นผู้แทนครู ผู้บริหาร ) ผู้ปกครองนักเรียน ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลการดำเนินการพัฒนาวิทยาลัย แบบมีส่วนร่วม เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ทางวิทยาลัยได้วิเคราะห์ปัญหา สรุปสภาพปัญหา และกำหนดแนวทางในการพัฒนา ตามสภาพปัญหาที่พบข้างต้นทั้ง 4 ด้าน โดยกำหนดกลยุทธ์การพัฒนาเป็น 4 กลยุทธ์หลัก 16 โครงการ/ กิจกรรม

ประชากร/กลุ่ม ตัวอย่าง กลุ่มประชากร ประกอบด้วย ผู้บริหาร คณะครู อาจารย์ พนักงาน และศิษย์เก่าที่จบระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช 3) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส2) กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสุ่มเพื่อให้มีความหลากหลายจึงเลือกกลุ่มของ คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยผู้ปกครองนักเรียน ที่เรียนอยู่ในปีการศึกษา 2557โดยสุ่มแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) จากผู้ปกครองนักเรียนชั้นเรียนละ 5 คน จำนวน 5 ชั้นเรียน ซึ่ง จำแนกกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่างดังนี้ 1. คณะครูสายการสอน จำนวน 7 คน 2. พนักงาน จำนวน 2 คน 3. คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย จำนวน 6 คน 4. ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 25 คน 5. ศิษย์เก่า จำนวน 14 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 54 คน

เครื่องมือที่ใช้ เก็บข้อมูล ในการศึกษาการพัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม ของวิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจนนทบุรี ในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ สร้างเครื่องมือเพื่อการประเมินผลการดำเนินงาน จำนวน 6 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการของคณะครูและบุคลากร ฉบับที่ 2 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการของคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ผู้ปกครองนักเรียน และศิษย์เก่า ฉบับที่ 3 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในการพัฒนาบุคลากร ฉบับที่ 4 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ฉบับที่ 5 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในการปรับปรุง พัฒนาสภาพภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมของคณะครู กรรมการบริหารวิทยาลัย ผู้ปกครองนักเรียน และศิษย์เก่า ฉบับที่ 6 แบบประเมินการบริหารโครงการเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงานปีการศึกษา 2557 แบบสอบถาม และแบบประเมินแบ่งเป็น 4 ตอน คือ

เครื่องมือที่ใช้ เก็บข้อมูล ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบสำรวจรายการ(Check List) มี 3 ข้อ คือ เพศ อายุ ตำแหน่ง ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการดำเนินการพัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม โดยใช้วิทยาลัยเป็นฐาน(SBM) ของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุกิจ นนทบุรี ซึ่งได้ดำเนินการพัฒนาในปีการศึกษา 2557โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตอนที่ 3 แบบประเมินการบริหารโครงการเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงานปีการศึกษา 2557 ใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ

เครื่องมือที่ใช้ เก็บข้อมูล ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบสำรวจรายการ(Check List) มี 3 ข้อ คือ เพศ อายุ ตำแหน่ง ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการดำเนินการพัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม โดยใช้วิทยาลัยเป็นฐาน(SBM) ของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุกิจ นนทบุรี ซึ่งได้ดำเนินการพัฒนาในปีการศึกษา 2557โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตอนที่ 3 แบบประเมินการบริหารโครงการเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงานปีการศึกษา 2557 ใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ

ผลการวิเคราะห์ ที่ กลยุทธ์การพัฒนา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน   ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ระดับการมี ส่วนร่วม อันดับที่ 1 2 3 4 การมีส่วนร่วมบริหารจัดการ การมีส่วนร่วมพัฒนาบุคลากรสู่เกณฑ์มาตรฐานการมีส่วนร่วมส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนการมีส่วนร่วมพัฒนาแหล่งเรียนรู้และปรับภูมิทัศน์ 3.72 3.90 3.60 3.71 0.67 0.56 0.48 0.46 มาก เฉลี่ย 3.73 0.54

ผลการวิเคราะห์ (ต่อ) ลำดับที่ โครงการ/กิจกรรม ผลการประเมิน % การแปลค่าความหมาย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. การอบรมสัมมนาภายใน/ภายนอก การประชุมทางวิชาการ การศึกษาดูงาน การเรียนการสอนแบบโครงงาน การจัดทำและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน การเรียนรู้จากห้องสมุด การวิจัยชั้นเรียน ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมที่ดีงาม ส่งเสริมบุคลิกภาพและการปกครองระบบประชาธิปไตย การฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับสถานประกอบการ การปรับปรุง ห้องปฏิบัติการวิชาชีพ การจัดทำและปรับปรุงสถานที่แยกเก็บขยะ การปรับสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ การปรับปรุงสนามกีฬาและมุมพักผ่อน 87 85 86 82 64 81 83 88 92 พึงพอใจมาก ยอมรับได้ พึงพอใจมากที่สุด   เฉลี่ย 83.86

สรุปผลการวิจัย สรุปผลการวิเคราะห์การพัฒนาวิทยาลัย แบบมีส่วนร่วมของวิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจนนทบุรี โดยภาพรวม พบว่า มีผลการดำเนินการมีส่วนร่วมอยู่ใน ระดับมากทุกกลยุทธ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.73 ,ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.54) โดยกลยุทธ์ที่มีค่าเฉลี่ย ผลการดำเนินการมีส่วนร่วมมากที่สุด คือ การพัฒนาบุคลากรสู่เกณฑ์มาตรฐาน (ค่าเฉลี่ย = 3.90 ,ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน= 0.56) รองลงมาได้แก่ การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม (ค่าเฉลี่ย = 3.72 ,ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.67) การปรับปรุงพัฒนาแหล่งเรียนรู้และปรับภูมิทัศน์ (ค่าเฉลี่ย = 3.71 ,ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.46) ตามลำดับ ส่วนกลยุทธ์ที่ค่าเฉลี่ยการมีส่วนร่วมน้อยสุด คือ การมีส่วนร่วมส่งเสริมกิจกรรมและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (ค่าเฉลี่ย = 3.60 ,ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.48)

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) จากการศึกษาการดำเนินการพัฒนาวิทยาลัย แบบมีส่วนร่วม ของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรีโดยภาพรวม เมื่อเปรียบเทียบ กับผลการดำเนินงานใน ปีการศึกษา 2557 วิทยาลัยได้รับการพัฒนาดีขึ้นทุกด้าน ดังนี้ 1. ด้านการบริหารจัดการ วิทยาลัยใช้เทคนิคการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยได้เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัย ซึ่งได้แก่ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยผู้ปกครองนักเรียน และศิษย์เก่า ได้มีโอกาสมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทำให้ทุก คนมีความรู้สึกรับผิดชอบในความเป็นเจ้าของ ได้ร่วมกันวางแผนในการบริหารโรงเรียน โดยทุกฝ่ายช่วยกันคิด ช่วยกันวางแผน ตลอดทั้งร่วมกันปฏิบัติงานตามแผนงาน ส่งผลให้วิทยาลัย นักเรียนได้รับการพัฒนาขึ้นมาก

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 2. ด้านการพัฒนาบุคลากรสู่มาตรฐาน เมื่อเปรียบเทียบกับ ปีการศึกษา 2556 ทางวิทยาลัยได้ส่งเสริม สนับสนุนให้คณะครูได้พัฒนาตนเอง พัฒนาเพื่อนร่วมงาน โดยจัดส่งคณะครูเข้ารับการฝึกอบรม ส่งไปศึกษาดูงานวิทยาลัยต้นแบบ ตลอดจนถึงการจัดประชุมวิชาการ ให้คำปรึกษา กระตุ้นให้เกิดจิตสำนึกในความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ของตนเอง มีการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยช่วยในการจัดการเรียนการสอน มีการจัดทำแผนการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง ตลอดทั้งมีการส่งเสริมให้ใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาทางการเรียนให้แก่นักเรียน ทำให้คณะครูได้ พัฒนาตนเอง พัฒนาวิชาชีพ มีผลงานทางวิชาการที่ได้จากการปฏิบัติงานในหน้าที่ อันส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพของแต่ละคน

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. ด้านการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ทางวิทยาลัยกำหนดจุดเน้นเพื่อพัฒนานักเรียน โดยได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน โครงการ การจัดทำและพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการเรียนการสอน การเรียนรู้จากห้องสมุด อินเตอร์เน็ต การวิจัยในชั้นเรียน การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่ดีงาม การส่งเสริมบุคลิกภาพภาวะผู้นำและการปกครองระบบประชาธิปไตยการส่งเสริม ดังกล่าว ทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล ส่งผลให้คุณภาพของนักเรียน) ทั้งทางด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของวิทยาลัยที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวของนักเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนปีการศึกษา 2557

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 4. ด้านการปรับปรุง พัฒนาสภาพภูมิทัศน์ และแหล่งการเรียนรู้ทางวิทยาลัยใช้กลยุทธ์นำวิทยาลัยเข้าสู่ชุมชน ได้ร่วมกับชุมชนพัฒนาภุมิทัศน์ให้สวยงามมีแหล่งเรียนรู้ที่มีความพร้อมและเอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน อย่างเต็มที่ และเจริญก้าวหน้าไปมาก เช่น ทางวิทยาลัยได้ปรับปรุงห้องปฎิบัติตามสาขาที่เปิดสอนอย่างมืออาชีพด้านการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของวิทยาลัยจากการดำเนินการดังกล่าวส่งผลให้สภาพอาคารสถานที่ มีความพร้อมและเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนการสอนเป็นอย่างดียิ่ง ทำให้วิทยาลัยได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองนักเรียนและบุคคลทั่วไป

ข้อเสนอแนะ การบริหาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้เป็นฐาน จะประสบผลสำเร็จมากน้อย เพียงใด ผู้ที่มีบทบาทมากที่สุด คือ ตัวผู้บริหาร ซึ่งผู้บริหารจะต้องใช้เทคนิคการเปิดโอกาสให้คณะ ครู คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ผู้ปกครองนักเรียน ตลอดจนถึงศิษย์เก่า เข้ามามีส่วนร่วมทุกขั้นตอน ของการบริหาร ซึ่งจุดเด่นที่ทางวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรีได้ดำเนินการประสบ ผลสำเร็จ คือ การดำเนินการพัฒนา ตามแผนงานโครงการ โดยดึงชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาวิทยาลัย ทำให้ทุกฝ่ายมีความรู้สึกในความเป็นเจ้าของ ต่างต้องการให้โรงเรียนเจริญก้าวหน้า จึงมีความร่วมไม้ร่วมมือกันอย่างเต็มที่ ดังนั้นเพื่อให้วิทยาลัยพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึงต้องสนับสนุน ให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วม โดยผู้บริหารต้องประชาสัมพันธ์ ประสานงานกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่วนจุดด้อย ที่ควรยกเลิก คือการมีส่วนร่วมจัดทีมงาน และการมอบหมายงาน ซึ่งชุมชนเห็นว่า ควร เป็นหน้าที่ของผู้บริหาร ที่จะพิจารณา แต่งตั้ง และมอบหมายงาน ชุมชนมีบทบาทสนับสนุนและปฏิบัติตาม แต่ผู้บริหารต้องให้ความสำคัญต่อบุคลากรและชุมชน โดยสอบถามความเห็นชอบก่อน แต่งตั้งมอบหมายงานทุกครั้ง

ข้อเสนอแนะ (ต่อ) การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นจุดมุ่งหมายหลักการการจัดการศึกษา ของวิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจ นนทบุรีขาดความพร้อมด้านบุคลากร บุคลากรมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทำให้คณะครูและบุคลากรเกิดความภาคภูมิใจ มีความสามัคคีกลมเกลียวกันเป็นอย่างดี การจะพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณภาพ จึงจำเป็นต้องพัฒนาบุคลากรควบคู่กับการพัฒนางานให้บุคลากรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน อย่างเต็มศักยภาพของแต่ละคน และอีกประการหนึ่ง ปัจจุบันวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรีลงนามความร่วมมือด้านทวิภาคีกับสถานประกอบการเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกประสบการจริงในสถานประกอบการและให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของนักเรียนเต็มที่ เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรียนต่อไป