Part I ภาพรวมของการบริหารองค์กร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
Good Morning.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
การคำนวณอัตรากำลัง (Work Load). เป็นโครงการพัฒนาคุณภาพ จัดทำโดย : คณะกรรมการ TQA หมวด 5 และ คณะกรรมการ HRD.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ระบบการตรวจราชการ และนิเทศงาน ปี 2555
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
Strategic Line of Sight
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Part I ภาพรวมของการบริหารองค์กร นพ.กฤษฎา ศิริชัยสิทธิ์ นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านอายุรกรรม นางสุนันท์ นกทอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ นางนุชยา เชื้อเวียง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 19 ธันวาคม 2561

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร ตอนที่ IV ผลลัพธ์ I-4 การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ IV-1 ผลด้านการดูแลสุขภาพ IV-2 ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงาน IV-3 ผลด้านกำลังคน IV-4 ผลด้านการนำ IV-5 ผลด้านประสิทธิผลของกระบวนการทำงานสำคัญ IV-6 ผลด้านการเงิน I-2 กลยุทธ์ I-5 กำลังคน I-1 การนำ IV ผลลัพธ์ I-3 ผู้ป่วย/ ผู้รับผลงาน I-6 การปฏิบัติการ ตอนที่ II ระบบงานสำคัญของโรงพยาบาล HA Standards 4th Edition, Effective 1 July 2018 II-1 การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ II-2 การกำกับดูแลด้านวิชาชีพ II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย II-4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ II-5 ระบบเวชระเบียน II-6 ระบบการจัดการด้านยา II-7 การตรวจทดสอบประกอบการวินิจฉัยโรคฯ II–8 การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ II–9 การทำงานกับชุมชน ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ III-2 การประเมินผู้ป่วย III-3 การวางแผน III-4 การดูแลผู้ป่วย III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลัง III-6 การดูแลต่อเนื่อง กระบวนการดูแลผู้ป่วย

กระบวนการดูแลผู้ป่วย 1-6 การปฏิบัติการ ระบบงานสำคัญ กระบวนการดูแลผู้ป่วย กระบวนการทำงาน ( Work Process) 1-6.1 ประสิทธิผลของการปฏิบัติการ (Operational Effectiveness) 1-6.2

1-6.1 กระบวนการทำงาน ก. การออกแบบบริการและกระบวนการ ข. การจัดการและปรับปรุงกระบวนการ ง. การจัดการ นวตกรรม ค. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน จ. การจัดการเรียนการสอนทางคลินิก ข้อกำหนดที่สำคัญ กระบวนการสำคัญ ออกแบบบริการและกระบวนการ ระบบควบคุมเอกสารที่ดี มั่นใจว่าปฏิบัติตามข้อกำหนด ใช้ข้อมูลและตัววัด ตอบสนองความต้องการที่สำคัญ ปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อยกระดับ เลือกผู้ส่งมอบ ข้อกำหนด ประเมินของผู้ส่งมอบ ให้ข้อมูลป้อนกลับ จัดการเมื่อไม่เป็นไปตามข้อกำหนด โอกาสเชิงกลยุทธ์ การสนับการเงิน ทรัพยากร นวตกรรม ส่งมอบ ความเห็นชอบ การกำกับ ทรัพยากร อาจารย์ การกำกับ ข้อตกลงร่วมมือ การปฏิบัติตาม การสร้างเจตคติ ประเมินผล

ข้อกำหนดของบริการสุขภาพ ระบบสุขภาพ มีบทบาทหน้าที่ ..... มุ่งหวังให้ประชาชนมีสุขภาวะกายและจิตที่ดี ผ่านกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาโรค ฟื้นฟูการทำงานของร่างกาย และกระบวนการสร้างความแข็งแกร่งและความพร้อมของสาธารณสุขในการรับมือโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และภัยพิบัติ ระบบสุขภาพที่ดี ควรมี การตอบสนองความคาดหวัง เห็นคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเท่าเทียมด้านสิทธิประโยชน์

องค์ประกอบ ระบบบริการสุขภาพ 1. ระบบบริการ 2. ระบบผู้ให้บริการ 3. ระบบผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ 4. ระบบการเงินการคลัง 5. ระบบสารสนเทศ 6. ระบบอภิบาล (การกำกับดูแล) สวรส.(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข) https://www.hsri.or.th/researcher/classroom/detail/4741

ตัวอย่าง การออกแบบกระบวนการ ตัวอย่าง การออกแบบกระบวนการ กระบวนการ (Process or sub-process) ข้อกำหนดของกระบวนการ (Process requirement) ตัวชี้วัดของกระบวนการ (Process indicator) การออกแบบกระบวนการ (Process design) การรายงานแพทย์ ใช้ SBAR ในเวลา 30 วินาที ร้อยละผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการรายงานด้วย SBAR ทันเวลา 1. ทีมนำสื่อสารให้ทุก PCT ใช้ SBAR ในการรายงาน 2. จัดทำ Flow chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติ 3. ติดตามประเมินผลการ ใช้ต่อเนื่อง การเฝ้าระวังอาการผู้ป่วย ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการประเมินอาการภายใน 5 นาที อุบัติการณ์การ detect อาการผู้ป่วยฉุกเฉินล่าช้า ใช้เครื่องมือ monitor ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูง ตรวจเยี่ยมถี่ขึ้น ทีมผู้ดูแลกำหนดประเด็นการเฝ้าระวังร่วมกัน (จัดทำ Flow chart แสดง ขั้นตอนการปฏิบัติ

การออกแบบกระบวนการออกแบบกระบวนการ ก.การออกแบบกระบวนการ (Process design) การออกแบบกระบวนการออกแบบกระบวนการ (Process designการ (Process design) แนวคิดในการออกแบบ ความเสี่ยง ความเรียบง่าย เห็นภาพชัดเจน Lean ระบบ Consistency Human factor engineering เป็นต้น ผลของการออกแบบ - ระบุขั้นตอนปฏิบัติ ใครทำ อะไร อย่างไร รู้ทางเลือก รู้วิธีป้องกันหากมีความเสี่ยง หากมีเหตุการณ์ไม่คาดฝันต้องมีการใช้ดุลยพินิจ ขั้นตอนสำคัญต้องมีการคืนข้อมูลเพื่อยืนยันว่า ได้ปฏิบัติจริง ข.การจัดการและปรับปรุงกระบวนการ

ค. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (ผลิตภัณฑ์และบริการ) เน้น ดูใน รพ.ที่มีบริการจากภายนอก (outsourse) - ผลิตภัณฑ์ เช่น เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ น้ำยาตรวจทางห้องปฏิบัติการ - บริการ เช่น บริการอาหาร งานทำความสะอาด รปภ. รพ.บึงกาฬมีบริการจากภายนอก (outsourse) - ผลิตภัณฑ์ เช่น เวชภัณฑ์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ น้ำยาตรวจทางห้องปฏิบัติการ CT scan - บริการ เช่น บริการอาหาร รปภ. การทำลายขยะ ไตเทียม2 Seven-11 อะเมซอน โรงอาหาร สลายนิ่ว (กรรมการ/สัญญา/ข้อตกลง/ประเมินผลการดำเนินงาน)

บริการจากภายนอก (outsourse) ส่งมอบผลิตภัณฑ์/บริการ การจัดการห่วงโซ่อุปทาน บริการจากภายนอก (outsourse) ปรับปรุง ให้ข้อมูลป้อนกลับ เริ่มต้น เลือกผู้ส่งมอบ ส่งมอบผลิตภัณฑ์/บริการ วัดและประเมินการดำเนินการของผู้ส่งมอบ จัดการเมือผลการดำเนินการไม่เป็นไปตามข้อตกลง จัดทำข้อกำหนดที่ชัดเจน รัดกุม

ง. การจัดการนวตกรรม นำโอกาสเชิงกลยุทธ์ในข้อ 1-2.1 (2) มาสร้างนวตกรรม ให้การสนับสนุนการเงิน และทรัพยากร ส่งมอบคุณค่าแก่ผู้ป่วย / ผู้รับผลงานอื่น องค์กรประสบความสำเร็จ

(Operational effectiveness 1-6.2 ประสิทธิผลของการปฏิบัติ (Operational effectiveness ก. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ ข. การเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยและภาวะฉุกเฉิน ควบคุมต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัติการ อุบัติการณ์ การทำงานซ้ำ ลดค่าใช้จ่าย ปรับปรุงรอบเวลา สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการที่ปลอดภัย การเตรียมความพร้อมต่อ ภัยพิบัติ หรือภาวะฉุกเฉิน

(Operational effectiveness) 1-6.2 ประสิทธิผลของการปฏิบัติ (Operational effectiveness) ควบคุมต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัติการ อุบัติการณ์ (หนี้สูญของค่ารักษาพยาบาล) การทำงานซ้ำ (การ Print เอกสารผู้ป่วยนอก) ลดค่าใช้จ่าย (การผ่าตัด) ปรับปรุงรอบเวลา (การใช้พลังงานของงาน จ่ายกลาง) สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติการที่ปลอดภัย การเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉิน รพ.บึงกาฬ ภัยพิบัติ ได้แก่ - น้ำท่วม / พายุ / อัคคีภัย - โรคระบาด ภาวะฉุกเฉิน ได้แก่ - อินเทอเนตล่ม - อุบัติเหตุหมู่ / อุบัติเหตุจาก การทำงาน - น้ำไม่ไหล /ไฟดับ

กระบวนงานสำคัญ... ที่วางแผนตอบ สรพ การบ้าน กระบวนงานสำคัญ... ที่วางแผนตอบ สรพ ระดับ รพ. 1. 2. 3. 4. 5 ระดับ ทีมคร่อม 1. 2. 3. 4. 5 ระดับ หน่วยงาน 1. 2. 3. 4. 5

การออกแบบกระบวนการ การให้สิทธิ์ การบันทึกค่ารักษา การคงค้าง (Process or sub-process) ข้อกำหนดของกระบวนการ(Process requirement) ตัวชี้วัดของกระบวนการ (Process indicator) การออกแบบกระบวนการ (Process design) การให้สิทธิ์ การบันทึกค่ารักษา การคงค้าง การเรียกเก็บ งานประกัน การ Print เอกสารผู้ป่วย (มาใช้ Paperless) งาน IT การลดพลังงาน ENV การป้องกันน้ำท่วม การพัฒนางานห้องผ่าตัด กลุ่มการฯ การใช้บริการจากภายนอกต่างๆ พัสดุ ....? การเตรียมรับโรคอุบัติใหม่ / โรคระบาด / อุบัติเหตุหมู่

วัตถุประสงค์การอบรม การใช้มาตรฐาน HA ใหม่ (Version 4) เพื่อสื่อสารรายละเอียดของมาตรฐาน สื่อสารประเด็นที่ รพ.บึงกาฬได้พัฒนาแล้ว กำลังพัฒนา และยังเป็นส่วนขาด จากมาตรฐาน

เป้าหมาย หัวหน้าหน่วยงาน เลขาทีม ผู้รับผิดชอบคุณภาพในหน่วยงาน 1. ร่วมเรียนรู้ และเข้าใจ ประเด็นสำคัญของ มาตรฐาน 2. สามารถนำประเด็นที่เป็นการคร่อม สายงาน ไปจัดกิจกรรมพัฒนาให้ สอดคล้องในระดับทีม / หน่วยงานได้ - ออกแบบระบบ และปฏิบัติ - ให้ความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้อง