รูปแบบการเรียนการสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

เทคนิคการเรียนการสอนโดยใช้เกม และ เทคนิคการสอนโดยใช้การแสดงละคร
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา

มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วิธีสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem-based learning:PBL
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
ความหมายของโครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่จะศึกษาได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด.
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
Collaborative problem solving
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
การเลือกใช้เกมหรือ กิจกรรม ในการฝึกอบรม. การฝึกอบรม การเปลี่ยนแปลงพัฒนาคนใน ด้าน ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understand) ทักษะ (Skill) ทัศนคติ (Attitude)
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
วัตถุประสงค์การวิจัย
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
บทที่ 4 ศิลปะและมโนทัศน์การออกแบบ ระบบการสอนบนเครือข่าย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบการเรียนการสอน วิธีการสอน เทคนิคการสอน

รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการสืบสอบ และแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation Instructional Model)

รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม ทฤษฏีรูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่มของจอยส์ และวีล เป็นผู้พัฒนารูปแบบนี้จากแนวคิดหลักของเธเลน 2 แนวคิด คือ แนวคิดเกี่ยวกับการสืบสอบหาความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับความรู้ ได้อธิบายว่า “สิ่งสำคัญที่สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกหรือความต้องการที่จะสืบค้นหรือเสาะแสวงหาความรู้ก็คือตัวปัญหา แต่ตัวปัญหานั้นจะต้องมีลักษณะที่มีความหมายต่อผู้เรียนและท้าทายเพียงพอที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะแสวงหาคำตอบนอกจากนั้นปัญหาที่มีลักษณะชวนให้เกิดงุนงงสงสัย หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด จะยิ่งทำให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะเสาะแสวงหาความรู้หรือคำตอบมากยิ่งขึ้น ดังนั้นความรู้จึงเป็นสิ่งที่ค้นพบผ่านทางกระบวนการสืบสอบโดยอาศัยความรู้และประสมการณ์”

เป้าหมายของรูปแบบ รูปแบบนี้มุ่งพัฒนาทักษะในการสืบสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจโดยอาศัยกลุ่มซึ่งเป็นเครื่องมือทางสังคมช่วยกระตุ้นความสนใจหรือความความอยากรู้และดำเนินงานการแสวงหาความรู้หรือคำตอบที่ต้องการ

ขั้นตอนกระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ขั้นที่ 1 ให้ผู้เรียนเผชิญปัญหาหรือสถานการณ์ที่ชวนให้งุนงงสงสัย ปัญหาหรือสถานการณ์ที่ใช้ในการกระตุ้นความสนใจและความต้องการในสืบสอบและแสวงหาความรู้ต่อไปนั้นควรเป็นปัญหาคือสถานการณ์ที่เหมาะสมกับวัย ขั้นที่ 2 ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาหรือสถานการณ์นั้น ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวางและพยายามกระตุ้นให้เกิดความขัดแย้งหรือความแตกต่างทางความคิดขึ้น เพื่อท้ายทายให้ผู้เรียนพยายามหาทางเสาะแสวงหาข้อมูลและให้ผู้เรียนรวมกลุ่มกัน

ขั้นที่ 3 ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มรวมกลุ่มการวางแผนในการแสวงหาความรู้ สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผน ว่าจะแสวงหาข้อมูลอะไร จะพิสูจน์อะไร จะตั้งสมมุติฐานอย่างไรกลุ่มจำเป็นต้องมีข้อมูลอย่างไร ขั้นที่ ๔ ให้ผู้เรียนดำเนินการแสวงหาความรู้ ผู้เรียนดำเนินการเสาะแสวงหาความรู้ตามแผนงานที่กำหนดไว้

ขั้นที่ ๕ ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลข้อมูล นำเสนอและอภิปรายผล เมื่อกลุ่มรวบรวมข้อมูลมาแล้วกลุ่มทำการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ผู้สอนช่วยให้คำแนะนำเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ขั้นที่ 6 ให้ผู้เรียนกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการสืบเสาะหาคำตอบต่อไป ผู้เรียนจะสามารถสืบสอบและแสวงหาความรู้ของกลุ่มตามขั้นตอนข้างต้นช่วยให้กลุ่มได้รับความรู้ ความเข้าใจ และคำตอบในเรื่องที่ศึกษา

ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบ ผู้เรียนจะสามารถสืบสอบและแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองเกิดความใฝ่รู้และมีความมั่งใจในตนเองเพิ่มขึ้นและได้พัฒนาทักษะการสืบสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการทำงานกลุ่ม

ข้อดีของวิธีการสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ ได้พัฒนาความคิดอย่างเต็มที่ ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจึงมีความอยากริอยู่ตลอดเวลา ฝึกความคิด ฝึกการกระทำ ทำให้ผู้เรียนรู้วิธีการจัดการระบบความคิด ข้อดีของวิธีการสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ สามรารถจดจำได้นาน และนำไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้อีกด้วย สามารถเรียนรู้มโนมติและหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้เร็วขึ้น

วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) กระบวนการที่ผู้สอนในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดโดยการจัดผู้เรียนเป็นกลุ่มๆ ประมาณ ๔- ๘ คน และให้ผู้เรียนในกลุ่มแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น และประสบการณ์ในประเด็นที่กำหนดให้ และสรุปผลการอภิปรายออกมาเป็นข้อสรุปของกลุ่ม

เป้าหมายของการสอน วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย เป็นวิธีการมุ่งช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนรวมในกิจกกรมการเรียนรู้อย่างทั่วถึง มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ในเรื่องที่กว่างขึ้น

ขั้นตอนวิธีการสอน ขั้นที่ ๑ ผู้สอนจัดผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ กลุ่มละประมาร ๔ – ๘ คน ขั้นที่ ๒ ผู้สอน/ผู้เรียนกำหนดประเด็นในการอภิปราย ขั้นที่ ๓ ผู้เรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันตามประเด็นอภิปราย ขั้นที่ ๔ ผู้เรียนสรุปสาระที่สมาชิกกลุ่มได้อภิปรายร่วมกันเป็นข้อสรุปของกลุ่ม ขั้นที่ ๖ ผู้สอนและผู้เรียนนำข้อสรุปของกลุ่มย่อยมาใช้ในการสรุปบทเรียน ขั้นที่ ๗ ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน

เทคนิคการสอน เทคนิคการใช้คำถามเพื่อพัฒนาลักษณะการเกิดคิดที่พึงประสงค์ การสอนที่สามารถส่งเสริมและพัฒนาการคิดของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น จึงเป็นหน้าที่ประการสำคัญของครุทุกคน การคิดมีลักษณะเป็นกระบวนการการที่มองไม่เห็นและมีความคลุมเครือ ไม่มีลักษณะเป็นเนื้อหาที่ครูสามารถเห็นได้ง่าย จึงทำไห้การสอนหรือฝึกทักษะการคิดเป็นเรื่องยาก ซึ่งผู้สอนสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการตั้งคำถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดและพัฒนาลักษณะการคิดนั้นๆ

เป้าหมายของการสอนการใช้คำถามเพื่อพัฒนาลักษณะการเกิดคิดที่พึงประสงค์ เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนากระบวนการทางความคิดของผู้เรียน โดยผู้สอนจะป้อนคำถามในลักษณะต่างๆที่เป็นคำถามที่ดี สามารถพัฒนาความคิดผู้เรียน ถามเพื่อผู้เรียนใช้ความคิดเชิงเหตุผลวิเคราะห์ สังเคราะห์หรือ การประเมินค่าเพื่อจะตอบคำถามเหล่านั้น

ขั้นตอนการสอนการใช้คำถามเพื่อพัฒนาลักษณะการเกิดคิดที่พึงประสงค์ ขั้นที่ ๑. ขั้นวางแผนการใช้คำถาม รูปแบบหรือประการใดที่จะสอดคล้องกับเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์ของบทเรียน ขั้นที่ ๒. ขั้นเตรียมคำถาม ผู้สอนควรจะเตรียมคำถามที่จะใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการสร้างคำถามอย่างมีหลักเกณฑ์

ขั้นที่ ๓. ขั้นการใช้คำถาม ผู้สอนสามารถจะใช้คำถามในทุกขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และต้องเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ ขั้นที่ ๔. ขั้นสรุปและประเมินผลการสรุปบทเรียนผู้สอนอาจจะใช้คำถามเพื่อการสรุปบทเรียนก็ได้ การประเมินผล ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการประเมินผลตามสภาพจริง

จากการที่ศึกษารูปแบบการสอน วิธีการสอน และเทคนิคการสอนพบว่าทั้ง ๓ อย่าง มีรูปแบบและวิธีการสอนที่ให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะในการสืบสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจโดยอาศัยกลุ่มและยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ในเรื่องที่กว่างขึ้นให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนนั้นๆ

อ้างอิง

จัดทำโดย ๑.น.ส.พรพิรุฬห์ จำนงค์สัตย์ รหัส ๐๐๔ ๑.น.ส.พรพิรุฬห์ จำนงค์สัตย์ รหัส ๐๐๔ ๒.น.ส.ธนาพร เพชรวิศิษฐ รหัส ๐๐๖ ๓.นายพิชากร กุมมารสิทธิ์ รหัส ๐๐๗ สาขานาฏศิลป์ไทย เสนอ ผศ.ไพรัช สู่แสงสุข ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร