แผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับเสนอที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ในคราวประชุมครั้งที่ 9/2559 วันที่ 17 กันยายน 2559
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1. ครม. เห็นชอบการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปี 2560 2. กองแผนงาน ทบทวนปรับปรุงกลยุทธ์ ผลผลิต โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด 3. เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ มข. กับยุทธศาสตร์ชาติ 17 ก.ย.59 เสนอแผนปฏิบัติการและงบประมาณ ปี 2560 ต่อที่ประชุมสภา มหาวิทยาลัย และคณะ/หน่วยงาน จัดทำร่างแผนปฏิบัติการประจำปี 2560 ที่สอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์การบริหาร (2559-2562) กองแผนงาน จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ การวิเคราะห์งบประมาณ กองแผนงาน วิเคราะห์กรอบวงเงิน งปม. โครงการตามยุทธศาสตร์ จัดประชุมผู้บริหารเพื่อกำหนดโครงการปี 2560 มหาวิทยาลัยเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ถ่ายทอดแผนสู่การปฏิบัติ 7 เม.ย. 59 ชี้แจงการจัดทำแผนและแผนงบประมาณ กรอบทิศทางแผนปี 2560 การจัดทำงบประมาณ ปี 2560 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ปี 58 ปี 59 22 ส.ค.59 เสนอแผนปฏิบัติการและงบประมาณ ปี 2560 ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร /อธิการบดีเห็นชอบแนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปี 2560 กองแผนงาน ส่งกรอบวงเงินอุดหนุนจากรัฐ ปี 2560 กองแผนงาน จัดทำกรอบวงเงินงบรายได้ ปี 2560 คณะ/หน่วยงานวิเคราะห์ SWOT จัดทำกรอบวงเงินแผ่นดินขั้นต่ำ เตรียมข้อมูลชี้แจงรายละเอียดงบประมาณ ปี 2560 ต่อคณะกรรมาธิการงบประมาณ คณะ/หน่วยงาน จัดทำรายละเอียดงบประมาณ(เงินแผ่นดิน+รายได้) คณะ/หน่วยงาน ส่งคำของบประมาณ ปี 2560 ภายใน 30 มิ.ย.59 จัดประชุมชี้แจง รับฟังความคิดเห็น จากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คณะ/หน่วยงาน จัดส่งแผนปฏิบัติการ ปี 2560 ภายใน 31 ต.ค.59
มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำระดับโลก วิสัยทัศน์ World Class Research University “ได้รับการยอมรับจากสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรระหว่างประเทศ มีผลของการจัดอันดับ ของมหาวิทยาลัยอยู่ในลำดับที่สูง คือ อันดับ 1 ใน 80 ของเอเชีย และ อันดับ 1 ใน 400 ของโลก เมื่อพิจารณาจากคุณภาพบัณฑิต คุณภาพงานวิจัย ความเป็นนานาชาติ และความมีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย จากการจัดอันดับจากองค์กรประเมินคุณภาพทั้งภายในประเทศและนานาชาติ รวมถึงการพัฒนาตนเองให้เป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำ มหาวิทยาลัยที่มีการบริหารจัดการที่ดี มหาวิทยาลัยคุณภาพ มหาวิทยาลัยของชุมชน”
เสาหลักของยุทธศาสตร์ (Strategic Pillar) เสาหลักที่ 1 : Green and Smart Campus เสาหลักที่ 2 : Excellence Academy เสาหลักที่ 3 : Culture and Care Community เสาหลักที่ 4 : Creative Economy and Society 1 ใน 80 ของเอเชีย 1 ใน 400 ของโลก หมายเหตุ : ที่มาเสาหลักของยุทธศาสตร์ มาจาก ประกาศสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 6/2557 เรื่อง พันธกิจและนโยบายในการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ.2558 – 2562)
เป้าหมายการดำเนินงานของ ม.ขอนแก่น ปี พ.ศ.2560 ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1) จำนวนหลักสูตรใหม่ 5 หลักสูตร 2) หลักสูตรทั้งหมด 343 หลักสูตร 3) จำนวนนักศึกษาใหม่ 9,920 คน 4) จำนวนนักศึกษาทั้งหมด 39,866 คน 5) จำนวนนักเรียนโรงเรียนสาธิต 4,491 คน 6) จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา 8,434 คน 7) ร้อยละการได้งานทำงานของบัณฑิต >90 8) ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 9) ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำในตลาด อาเซียน ร้อยละ 12 10) ร้อยละของนักศึกษาต่างชาติ (ป.ตรี/ป.บัณฑิต) ร้อยละ 2 11) จำนวนคณะวิชาใหม่ที่จัดตั้งขึ้น 1 คณะ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1) จำนวนผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ แก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่ 160 เรื่อง 2) จำนวนงานวิจัยเพื่อสร้างสะสม องค์ความรู้ 115 โครงการ 3) จำนวนโครงการวิจัยที่ใช้ผลงานวิจัยไป แก้ปัญหาเชิงพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรมและ ได้รับการยอมรับในระดับประเทศ 4 เรื่อง 4) จำนวนโครงการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมสู่ เชิงพาณิชย์ 4 โครงการ 5) จำนวนสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และลิขสิทธิ์ 400 รายการ 6) จำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน refereed journal ระดับชาติ/นานาชาติ 5,000 บทความ 7) ทุนวิจัย/งบประมาณด้านการวิจัย >800 ล้านบาท
เป้าหมายการดำเนินงานของ ม.ขอนแก่น ปี พ.ศ.2560 (ต่อ) ด้านการบริการวิชาการ และการรักษาพยาบาล ด้านการบริหารจัดการองค์กร/ การพัฒนาพื้นที่สีเขียว ตัวชี้วัด เป้าหมาย จำนวนส่วนงาน/หน่วยงานที่มีการปรับปรุง โครงสร้าง >5 หน่วยงาน 2) ร้อยละของอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการ ร้อยละ 63 3) ร้อยละของอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ร้อยละ 69 4) ปริมาณไฟฟ้ารวมที่ลดลง ร้อยละ 5 5) อาคารเรียน ห้องปฏิบัติการที่ได้รับการปรับปรุง ไม่น้อยกว่า 5 อาคาร 6) ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวันได้รับการจัดการ และนำกลับมาใช้ใหม่ ร้อยละ 70 7) พื้นที่สีเขียว และสวนสาธารณะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 30 ตัวชี้วัด เป้าหมาย จำนวนชุมชนที่ได้รับบริการอย่างบูรณาการ สาขาวิชาต่างๆ 10 ชุมชน 2) จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการแก่ สังคม 300 โครงการ 3) จำนวนผู้เข้ารับบริการ 800,000 4) จำนวนผู้ป่วยนอก 850,000 ราย 5) จำนวนผู้ป่วยใน 65,000 ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1) จำนวนงานวิจัยด้านศิลปะและวัฒนธรรม ร้อยละ 5 2) จำนวนโครงการที่ได้รับการยอมรับว่าเป็น ผู้นำในการอนุรักษ์และประยุกต์ใช้ศิลปะ และวัฒนธรรม 5 โครงการ
ทั้งหมด 129 โครงการ รวมจำนวนโครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 10 วิสัยทัศน์ : มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำระดับโลก เสาหลักที่ 1 Green and Smart Campus เสาหลักที่ 4 Creative Economy and Society เสาหลักที่ 2 Excellence Academy เสาหลักที่ 3 Culture and care Community ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนา การเป็น มหาวิทยาลัย สีเขียว ยุทธศาสตร์ที่ 2 เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนา ว.หนองคายเป็นประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ยุทธศาสตร์ที่ 5 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต ยุทธศาสตร์ที่ 6 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการวิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่ความเป็นสากล ยุทธศาสตร์ที่ 8 เป็นศูนย์กลางการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9 เป็นองค์กรที่มีความห่วงใยต่อสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 10 ศูนย์กลางของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของภูมิภาค 3 กลยุทธ์ 12 โครงการ 7 กลยุทธ์ 15 โครงการ 7 กลยุทธ์ 21 โครงการ 3 กลยุทธ์ 8 โครงการ 5 กลยุทธ์ 22 โครงการ 4 กลยุทธ์ 17 โครงการ 3 กลยุทธ์ 12 โครงการ 2 กลยุทธ์ 5 โครงการ 3 กลยุทธ์ 11 โครงการ 3 กลยุทธ์ 6 โครงการ รวมจำนวนโครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ทั้งหมด 129 โครงการ
Green and Smart Campus เสาหลักที่ 1 เสาหลักของยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ความพึงพอใจของ นศ. และบุคลากรต่อการจัดการสภาพแวดล้อม ร้อยละ 80 พื้นที่สีเขียวของ มข. ร้อยละ 30 เสาหลักที่ 1 Green and Smart Campus ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว ( 3 กลยุทธ์ 12 โครงการ) การจัดทำผังเฉพาะพื้นที่ จัดข้อมูลพื้นฐานของบัญชีก๊าซเรือนกระจกของแต่ละหน่วยงาน ปรับปรุงลานจอดรถ (หน้าอาคารสิริคุณากร สวนรุกขชาติ สโมสรนักศึกษา ฯ) ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูง แบบ Indoor GIS ยุทธศาสตร์ที่ 2 เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสังคม ( 7 กลยุทธ์ 15 โครงการ) พัฒนาเครือข่าย/ระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น ระบบสารสนเทศการบริหาร ระบบจัดเก็บเอกสาร ฯลฯ การเพิ่มประสิทธิภาพ E-Learning ปรับปรุงระบบอากาศสำนักหอสมุด และอาคารสารสนเทศ ระบบ Wifi ที่มีประสิทธิภาพ ความเร็วสูง ครอบคลุมทุกอาคาร ห้องเรียน หอพัก ความพึงพอใจผู้ใช้บริการแหล่งเรียนรู้ทุกประเภท ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ผลการประเมินการกำกับดูแลองค์กรที่ดี ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย (ปปช.) จำนวนอุบัติเหตุการจราจรภายใน มข. ลดลง ร้อยละ 20 ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ ( 7 กลยุทธ์ 21 โครงการ) เตรียมความพร้อมผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง การพัฒนาการประกันคุณภาพระดับคณะ/สถาบัน (EdPex) ติดตั้งระบบเตือนภัยในพื้นที่สำคัญ ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV) รณรงค์ ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ สร้างจิตสำนึกด้านวิจัยจราจร ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนา ว.หนองคายเป็นประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ( 3 กลยุทธ์ 9 โครงการ) เพิ่มหลักสูตรขาดแคลน และเป็นความต้องการของพื้นที่ เช่น หลักสูตรนิติศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลศาสตร์ ปรับปรุงอาคารเรียนรวมและปฏิบัติการ 2 วิทยาเขตหนองคาย การจัดตั้งโรงเรียนสาธิต มข. ณ วิทยาเขตหนองคาย จำนวนงานวิจัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 จำนวนนักศึกษาใหม่ที่รับเข้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 95 จำนวนหลักสูตรใหม่ที่เพิ่มขึ้น 2 หลักสูตร
เสาหลักที่ 2 Excellence Academy เสาหลักของยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ เป้าหมาย เสาหลักที่ 2 Excellence Academy ยุทธศาสตร์ที่ 5 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต ( 5 กลยุทธ์ 22 โครงการ) พัฒนาหลักสูตรใหม่ที่เป็นความต้องการของประเทศ/หลักสูตรนานาชาติ เช่น หลักสูตรเกษตรแผนใหม่ การจัดการเศรษฐศาสตร์ การจัดการน้ำแบบครบวงจร วิศวการขนส่ง และระบบราง โครงการพัฒนาต้นแบบห้องเรียนรู้ (Smart Classroom) โครงการสนับสนุนฟื้นฟูความสัมพันธ์ และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาค(สหกิจศึกษา) บัณฑิตที่มีงานทำและศึกษาต่อ >ร้อยละ 90 บัณฑิตที่ได้งานทำในตลาดอาเซียน ร้อยละ 12 ความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อบัณฑิต >ร้อยละ 85 ยุทธศาสตร์ที่ 6 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการวิจัย (4 กลยุทธ์ 17 โครงการ) ส่งเสริม และผลักดันให้เกิดงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ นวัตกรรมและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น วิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีโดยผลิตผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน แก้ปัญหาชุมชน สังคม และประเทศ เช่น โครงการวิจัยพัฒนาแบตเตอรี่ วิจัยการ พัฒนายางนา วิจัยพัฒนาไหมทนร้อน วิจัยโคทนร้อน วิจัยข้าวทนเค็ม วิจัยแก้ไข ปัญหาดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โครงการแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับ และมะเร็งท่อน้ำดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลงานวิจัย/โครงการที่แก้ปัญหาเชิงพื้นที่เป็นที่ยอมรับระดับประเทศ ไม่น้อยกว่า 4 โครงการ ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ฯ ไม่น้อยกว่า 160 โครงการ จำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูล SCOPUS/ISI ต่องานวิจัยทั้งหมด ร้อยละ 60 ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่ความเป็นสากล ( 3 กลยุทธ์ 12 โครงการ) โครงการเจรจาธุรกิจสำหรับผู้บริหาร(คณะ/หน่วยงาน) โครงการเพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติเชิงรุก พัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านภาษาอังกฤษ เพิ่มศักยภาพอาจารย์ บุคลากรเพื่อเตรียมสู่ประชาคมอาเซียนและ มุ่งสู่ระดับสากล Capacity Building f๐r staff (การอบรมภาษาอังกฤษ) ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสี่ยง 200 อันดับแรกของโลก 10 แห่ง จำนวนนักศึกษาต่างชาติระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา มากกว่า 500 คน ผลการประเมินในระดับสาขาวิชาที่ได้รับการจัดอันดับในระดับนานาชาติที่ติด 1 ใน 400 ของโลก ไม่น้อยกว่า 8 สาขา
Culture and care Community เสาหลักของยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ เป้าหมาย เสาหลักที่ 3 Culture and care Community ยุทธศาสตร์ที่ 8 เป็นศูนย์กลางการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ( 2 กลยุทธ์ 5 โครงการ) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ และสืบทอดศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม เช่น งานบุญประเพณี วันสำคัญทางศาสนา โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ สนับสนุนการศึกษา วิจัย บูรณาการองค์ความรู้ของนักศึกษาและบุคลากร เพื่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ส่งเสริม พัฒนา และเพิ่มคุณค่าของศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น งานวิจัยด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่เพิ่มขึ้นและจำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ จากฐานงานวิจัยทั้งหมดของมหาวิทยาลัย ร้อยละ 5 โครงการที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และประยุกต์ใช้ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน 4 โครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 9 เป็นองค์กรที่มีความห่วงใยต่อสังคม ( 3 กลยุทธ์ 11 โครงการ) ขยายพื้นที่โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขและการศึกษาในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ประกอบด้วย - โครงการพัฒนาการคิดขั้นสูงทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนในเขตพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - โครงการแก้ปัญหาความยากจนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการแก้ไขปัญหาโรคไตในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชุมชนที่ได้รับการบริการจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นอย่างบูรณาการสาขาวิชาต่างๆ 10 ชุมชน ให้บริการพัฒนาทรัพยากรมุนษย์ทั้งในแง่ของการฝึกอบรมและให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานต่างๆ 10 หน่วยงาน
Creative economy and Society เสาหลักของยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ เป้าหมาย เสาหลักที่ 4 Creative economy and Society ยุทธศาสตร์ที่ 10 ศูนย์กลางของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของภูมิภาค (3 กลยุทธ์ 6 โครงการ) จัดกิจกรรมการประกวดความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษา บ่มเพาะผู้ประกอบการที่มีความพร้อมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่มสู่ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ มีพื้นที่ที่จะนำเอาศิลปวัฒนธรรม ความรู้ และภูมิปัญญา อีสานมาเรียนรู้และสร้างสรรค์ให้เกิดมูลค่าเพิ่ม (Creative Space) 2 แห่ง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ได้รับการออกแบบและส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากศิลปวัฒนธรรมอีสาน 25 ผลิตภัณฑ์