คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
Advertisements

เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 ณ.
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
แผนงานโครงการ หน่วยศึกษานิเทศก์ ผล ปีงบประมาณ 2558 แผน ปีงบประมาณ 2559.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
How To กับ 4 แนวทาง 10 เครื่องมือ
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
งบแสดงสถานะการเงิน รายการ ปีงบ 61 ณ 28 ก.พ. 61
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
การพัฒนางานเภสัชกรรม
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
แผนการเงินการคลัง (Planfin) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Educational Standards and Quality Assurance
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
เทคนิคการตรวจรับ และ ควบคุมงาน.
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
CFO เขตสุขภาพที่ 2.
นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย
ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ มกราคม 2559
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การบริการ.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
การรายงานผลการดำเนินงาน
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
ใบงานกลุ่มย่อย.
สรุปผลการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการการเงินการคลัง (CFO)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ 11, 13 - 14 ก.ค. 2559

ประเด็นการตรวจราชการ ลำ ดับ หัวข้อ เป้าหมาย 6 เดือน ผลงาน โอกาสพัฒนา 1. มีคณะทำงาน - มีการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาการเงินตามประเด็นที่กำหนดอย่างชัดเจน CFO จังหวัดมีการวิเคราะห์สถานการณ์และเสนอรายงานต่อ กวป.ประจำทุกเดือน และมีการกำหนดประเด็นที่เป็นปัญหาของหน่วยบริการที่ต้องได้รับการแก้ไข CFO ระดับจังหวัด ลงเยี่ยมติดตามสถานการณ์การเงินการคลังทุกโรงพยาบาล เพื่อสะท้อนแนวทางการแก้ไขปัญหาให้กับคณะกรรมการ CFO ระดับอำเภอ - ลงเยี่ยมและตรวจสอบพร้อมแก้ปัญหา เมื่อ รพ.มีวิกฤติการเงินระดับ 7 หรือ มีข้อมูลผิดปกติ 2. หน่วยบริการมี และใช้ Planfin - ใช้ Planfin เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารหน่วยงาน - มีการกำหนด Planfin โดยวางมาตรการในการเฝ้าระวังทางการบริหารจัดการการเงินการคลัง >แผน : เกินดุล 8, ขาดดุล 6, สมดุล 2 >ผล : เกินดุล 9, ขาดดุล 7 - ผลการดำเนินงาน มีความต่างไม่เกิน ร้อยละ 20 : ทั้งหมด 16 แห่ง - มีกระบวนการควบคุม ตรวจสอบ และใช้ข้อมูลให้ต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ - ใช้ Planfin เป็นเครื่องมือกำกับ ติดตาม รพ.ที่มีความเสี่ยงทุกแห่ง ทุกเดือน

ประเด็นการตรวจราชการ ลำ ดับ หัวข้อ เป้าหมาย 6 เดือน ผลงาน โอกาสพัฒนา LOI 5 แห่ง - บางบาล 2 ล. - บางปะหัน 3 ล. - มหาราช 3 ล. - บ้านแพรก 2 ล. - ลาดบัวหลวง 3 ล. รวม 13 ล้านบาท ควบคุมค่าใช้จ่ายได้ตาม LOI ทำตามแผน LOI - ได้ 1 แห่ง : มหาราช - ไม่ได้ 4 แห่ง บางบาล บางปะหัน บ้านแพรก ลาดบัวหลวง - เวชภัณฑ์มิใช่ยา : บางปะหัน - วัสดุวิทย์ฯ : บางบาล, บางปะหัน - วัสดุใช้ไป : บ้านแพรก, ลาดบัวหลวง 3. หน่วยบริการมีการพัฒนาการจัดทำ Unit Cost มีการแต่งตั้งคณะทำงานและจัดเตรียมข้อมูล ปี 2558 สำหรับการจัดทำต้นทุน - มีจัดทำต้นทุนโดยใช้ข้อมูลต้นทุน Quick Methodจากส่วนกลาง มาเปรียบ Unit Cost กับค่ากลาง - ผลเกินเกณฑ์ 1 แห่ง รพ.วังน้อย = IPD - การนำเข้าข้อมูลบริการให้ถูกต้อง สมบูรณ์ - ติดตามตรวจสอบและแก้ไข รพ.ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ Unit cost - หน่วยบริการมีการจัดทำต้นทุนบริการแบบ Full Method ครบทุกแห่ง

ประเด็นการตรวจราชการ การจัดทำ Unit cost (แบบ Quick Method) ลำดับ  ต้นทุนบริการ ผลการประเมิน โรงพยาบาล ผู้ป่วยนอก Mean+1SD ผู้ป่วยใน 1 วังน้อย (60 ต.) 660.98 727.44 18,789.83 16,649.02 ไม่ผ่าน 2 บางไทร (30 ต.) 715.62 828.54 18,416.05 20,516.83 ผ่าน 3 บางบาล (30 ต.) 761.32 17,698.00 4 บางซ้าย (10 ต.) 766.91 909.47 19,250.97 26,297.09 5 พระนครศรีอยุธยา (522 ต.) 729.12 1,338.75 14,991.73 16,166.78 6 เสนา (180 ต.) 739.64 902.20 16,408.84 22,231.23 7 มหาราช (10 ต.) 695.44 20,476.23 8 บ้านแพรก (10 ต.) 806.99 968.21 17,152.63 28,551.03 9 บางปะอิน (60 ต.) 621.21 782.18 15,970.69 18,245.02 10 สมเด็จพระสังฆราช (60 ต.) 619.36 750.62 12,791.56 18,570.33 11 ลาดบัวหลวง (60 ต.) 596.00 786.53 14,846.35 18,661.71 12 บางปะหัน (30 ต.) 539.26 13,707.39 13 ผักไห่ (30 ต.) 614.09 11,250.52 14 ภาชี (30 ต.) 525.13 12,639.13 15 ท่าเรือ (30 ต.) 445.98 11,071.71 16 อุทัย (30 ต.) 485.47 16,891.00

ประเด็นการตรวจราชการ ลำ ดับ หัวข้อ เป้าหมาย 6 เดือน ผลงาน โอกาสพัฒนา 4. พัฒนาระบบการประเมิน FAI ติดตามความก้าวหน้าการประเมิน FAI เป็นรายไตรมาส - มีการติดตามประเมินประสิทธิภาพ FAI อย่างสม่ำเสมอ - ผลการประเมินไตรมาส 2 ภาพรวมจังหวัดร้อยละ 86 (เป้าหมาย ร้อยละ 70 ) - พัฒนาระบบและติดตามการประเมิน FAI ให้ผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายทุก รพ.

3.1 การบริหารการเงินการคลัง ระดับวิกฤตทางการเงิน สถานการณ์การเงินของหน่วยบริการ *ไตรมาส 3 ณ 31 พ.ค. 59 ลำดับ โรงพยาบาล ระดับวิกฤตทางการเงิน ทุนหมุนเวียนสุทธิ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3* 1 อุทัย (30 ต.) 2 3 6 3.69 3.17 0.15 บางปะหัน (30 ต.) 7 4 -6.63 -4.39 -3.56 เสนา,รพท. (180 ต.) 57.15 56.04 15.82 ลาดบัวหลวง (60 ต.) -2.98 0.30 1.80 5 บางบาล (30 ต.) 2.08 2.37 2.58 บางซ้าย (10 ต.) 8.69 7.29 3.76 ภาชี,รพช. (30 ต.) 5.90 8.25 6.17 8 สมเด็จพระสังฆราช (60 ต.) 9.77 12.23 6.58 9 บ้านแพรก (10 ต.) 2.92 2.43 1.67 10 มหาราช (10 ต.) -2.02 -0.54 2.09 11 ท่าเรือ (30 ต.) 2.99 4.09 2.40 12 ผักไห่ (30 ต.) 4.42 7.73 3.92 13 บางไทร (30 ต.) 14.86 8.51 14 วังน้อย (60 ต.) 112.97 43.24 32.82 15 บางปะอิน (60 ต.) 61.71 43.98 42.38 16 พระนครศรีอยุธยา (522 ต.) 581.41 646.54 571.96 หมายเหตุ : ข้อมูลจากเว็บไซต์กลุ่มประกันสุขภาพ สป.

สิ่งที่น่าชื่นชม ผู้บริหาร/CFO จังหวัด - มีการวิเคราะห์เฝ้าระวัง ติดตาม กำกับประเมิน แจ้งผู้บริหารทุกเดือน - มีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้บริหารของ รพศ. รพท. และ รพช. - มีการบริหารจัดการแบบแบ่งพื้นที่เป็น 4 โซน (อยุธยา เสนา ท่าเรือ วังน้อย)

คณะที่ 3 การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา คณะที่ 3 การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ทุกหน่วยงานมีและอนุมัติแผนการจัดซื้อยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาประจำปี โดย นายแพทย์ สสจ. พระนครศรีอยุธยา มี ๒ รพ.คือ รพ.พระนครศรีอยุธยา และ รพ.บางซ้าย ที่มีขออนุมัติปรับแผนด้านยา เวชภัณฑ์อื่นมีการขอปรับแผนในบางรพ.ซึ่งอยู่ ระหว่างดำเนินการ

การจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา เท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ 20

ยา   ซื้อร่วม ซื้อทั้งหมด % ยาร่วม รพ.พระนครศรีอยุธยา 33,718,886.60 156,933,537.04 21.49 รพ.เสนา 14,304,080.70 35,698,865.35 40.07 รพ.ท่าเรือ 1,906,344 8,060,833.46 23.65 รพ.บางปะอิน 2,567,709.97 11,661,044.46 22.02 รพ.บางไทร 1,151,597.57 4,416,502.13 26.07 รพ.ผักไห่ 1,751,383.90 5,155,702.27 33.97 รพ.สมเด็จ 2,608,430.05 8,715,585.96 29.93 รพ.อุทัย 1,728,614.00 5,318,590.96 32.50 รพ.ภาชี 1,463,392.07 6,228,834.95 23.49 รพ.บางซ้าย 322,953.00 1,677,523.77 19.25 รพ.บ้านแพรก 497,187.98 2,321,635.41 21.42 รพ.มหาราช 638,618.10 2,507,250.89 25.47 รพ.บางปะหัน 1,353,195.71 6,326,448.49 21.39 รพ.วังน้อย 2,513,756.40 9,032,700.37 27.83 รพ.บางบาล 808,845.50 3,064,012.32 26.40 รพ.ลาดบัวหลวง 1,538,477.90 3,921,865.44 39.23 รวมทั้งจังหวัด 68,873,473.45 271,040,933.27 25.41

มูลค่าการจัดซื้อร่วมวัสดุ วมย. มูลค่าการจัดซื้อทั้งหมด รวม 4 เวชภัณฑ์   มูลค่าการจัดซื้อร่วมวัสดุ วมย. มูลค่าการจัดซื้อทั้งหมด ร้อยละของมูลค่าการจัดซื้อร่วม รพ.พระนครศรีอยุธยา 5,791,878.56 42,279,035.56 13.70 รพ.เสนา 1,268,544.94 12,930,194.14 9.81 รพ.ท่าเรือ 950,790.37 4,621,964.08 20.57 รพ.บางปะอิน 1,402,769.72 7,399,023.65 18.96 รพ.บางไทร 403,696.60 3,661,996.77 11.02 รพ.ผักไห่ 532,649.80 3,359,643.04 15.85 รพ.สมเด็จ 922,763.85 3,864,550.51 23.88 รพ.อุทัย 974,867.36 4,275,389.18 22.80 รพ.ภาชี 687,181.43 3,165,802.44 21.71 รพ.บางซ้าย 117,556.90 748,725.60 15.70 รพ.บ้านแพรก 305,411.22 1,371,619.44 22.27 รพ.มหาราช 404,326.60 1,685,602.67 23.99 รพ.บางปะหัน 386,065.80 5,303,535.45 7.28 รพ.วังน้อย 824,609.86 4,525,166.74 18.22 รพ.บางบาล 318,906.78 1,773,544.78 17.98 รพ.ลาดบัวหลวง 450,861.00 2,206,015.97 20.44 รวมทั้งจังหวัด 15,742,880.79 103,171,810.02 15.26

การจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา เท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ 20   % ร่วม ยา แพทย์ ทันตะ วิทย์ ทั้งหมด วมย. รวมทั้งจังหวัด 25.41 33.74 32.95 1.89 22.61 15.25

ข้อมูลจากเวปไซต์กระทรวงฯ (DMSIC)

ข้อมูลจากเวปไซต์กระทรวงฯ (DMSIC)

ข้อมูลจากเวปไซต์กระทรวงฯ (DMSIC) 8

แผนการสำรองร่วม ยา Antidote และ serum พิษงู สำรองร่วมที่ รพศ.พระนครศรีอยุธยา ตามโครงการของ สปสช. ยาจำเป็นที่ใช้น้อยและจัดซื้อได้ลำบากในระดับโรงพยาบาลชุมชน มีสำรองร่วมที่ รพศ. พระนครศรีอยุธยา เช่น Streptokinase Inj. รพศ.สนับสนุน Antibiotic สำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย  

การจัดซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาร่วมระดับจังหวัด/เขต 1 . การจัดซื้อร่วมระดับเขต มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเรียบร้อยแล้ว เริ่มดำเนินการในวัสดุวิทยาศาสตร์และทันตกรรม การจัดซื้อร่วมระดับจังหวัด โดยการสืบราคาร่วม วัสดุวิทยาศาสตร์ 19 รายการ วัสดุทันตกรรม 22 รายการ วัสดุการแพทย์ 45 รายการ (11 ประเภท)

การจัดซื้อยาร่วมระดับเขต/จังหวัด ดำเนินการจัดซื้อยาร่วม ปี 2559 ระดับเขต อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อจัดหา ตามระเบียบพัสดุฯ จำนวน 8 รายการ ระดับจังหวัด จำนวน ๓๘ รายการ และใช้วิธี สืบราคาร่วมกัน ประหยัด ๕,๙๒๘,๗๘๔ บาท

การสั่งใช้และการใช้ยาอย่างสมเหตุผล กำหนดแนวทางและระบบการบริหารจัดการด้านยา การทำDUE ในยามูลค่าสูง ขาดการประเมินผล มีการดำเนินการ Antibiotic Smart Use (ASU) ใน 2 กลุ่มโรค URI และโรคท้องร่วง ผ่าน ๗ รพ. (บางซ้าย บางไทร บางปะหัน บ้านแพรก ภาชี มหาราช ลาดบัวหลวง )

ประเด็นชื่นชม ประเด็นข้อเสนอแนะ การจัดซื้อร่วม ทำได้ดีที่สุดในเขต 4 มีนวัตกรรม ระบบควบคุมอุณหภูมิเตือนผ่านมือถือ โดยพัฒนาโดย รพศ.พระนครศรีอยุธยา กำลังขยายไป รพ.บางปะอิน และ รพ.เสนา ประเด็นข้อเสนอแนะ รพศ.และ รพท.ควรเป็นพี่เลี้ยงในการจัดซื้อร่วม ระดับจังหวัดในส่วนของยาและวัสดุการแพทย์ การจัดซื้อวัสดุเวชภัณฑ์มิใช่ยา ควรจัดให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานพัสดุของแต่ละ รพ.เป็นผู้ดำเนินการ เพราะเป็นงานตามภาระงานของตำแหน่ง และมีความรู้ ทักษะ ในระเบียบพัสดุ

คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เรื่อง การพัฒนาบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 18 ร้อยละของจังหวัดในเขตสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ การพัฒนาบุคลากร(ร้อยละ 70) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

1. เป้าหมายที่ต้องการ ขั้นที่ 1 กำหนดโครงสร้างและผู้รับผิดชอบงานให้ชัดเจน ขั้นที่ 2 มีการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรอย่างมีส่วนร่วมและดำเนินการตามแผน ขั้นที่ 3 มีการพัฒนาและจัดเก็บข้อมูลการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ สามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจเชิงบริหารด้านการพัฒนาบุคลากร ขั้นที่ 4 จัดระบบและกลไกการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ขั้นที่ 5 สรุปรายงานผลนำสู่การปรับปรุงระบบ กลไก ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ข้อเสนอแนะการพัฒนาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับ

2. ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานพัฒนาบุคลากรของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในไตรมาส 3 ของปีงบประมาณ 2559 ผ่านเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด (ขั้นที่ 4) ตามแผนงาน/โครงการดังนี้ ลำดับที่ แผนงาน/โครงการ งบประมาณ (บาท) เบิกจ่ายไปแล้ว ร้อยละ ของการเบิกจ่าย 1. แผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากรของกลุ่มงาน/ฝ่ายของสสจ. 36 โครงการ 3,720,684 3,534,684 95.00 2. แผนงาน/โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตาม service plan ปี 2559 14 หลักสูตร 230,100   178,200 77.44 รวม 3,950,784 3,712,884 93.98

3. สิ่งที่น่าชื่นชม 3.1 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาบุคลากร มอบนโยบาย กำหนดวิสัยทัศน์ และตัวชี้วัดที่ชัดเจน 3.2 ผู้บริหารและบุคลากรของหน่วยงานทุกระดับมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ พยายาม และมีส่วนร่วมในการวางแผนงานพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบทั้งด้านบริหาร ด้านบริการ (ส่งเสริม/ป้องกัน/รักษา) และด้านสนับสนุนบริการ 3.3 มีการวิเคราะห์ปัญหา และจัดทำแผนปรับปรุงการบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร 3.4มีการจัดทำฐานข้อมูลผลการดำเนินงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงาน/โครงการของแต่ละหน่วยงานและภาพรวมของจังหวัดย้อนหลัง 3ปี เพื่อเปรียบเทียบและวิเคราะห์แนวโน้ม และปัญหา/อุปสรรคการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อติดตามกำกับการดำเนินงานการพัฒนาบุคลากรในภาพรวม

4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ 4.1 หน่วยงานทุกแห่งควรจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรอย่างมีส่วนร่วมแบบพลวัตในรูปแบบของ plan do check act 4.2 ควรจัดทำรายงานสรุปผลการพัฒนาบุคลากรของแต่ละหน่วยงาน และภาพรวมของจังหวัด รวมทั้งข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจพัฒนาปรับปรุงระบบกลไก ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายการดำเนินงานในปีต่อไป

เรื่อง ระบบธรรมาภิบาล : หน่วยงานคุณธรรม คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เรื่อง ระบบธรรมาภิบาล : หน่วยงานคุณธรรม ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน เฉพาะหลักฐาน เชิงประจักษ์ (มากกว่าร้อยละ 75) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

1. เป้าหมายที่ต้องการ “โรงพยาบาลคุณธรรม และ หน่วยงานคุณธรรม” 1. เป้าหมายที่ต้องการ “โรงพยาบาลคุณธรรม และ หน่วยงานคุณธรรม” 1) นโยบายของผู้นำองค์กร 2) ประกาศอัตลักษณ์ โดยหน่วยงานประชุมชี้แจงนโยบาย และหาจุดร่วมในการกำหนด อัตลักษณ์ (คุณธรรม 3 ประการ) ที่บุคลากรทุกคน ตกลงยึดถือเป็นข้อปฏิบัติ 3) มีการกำหนดแผน/ดำเนินการตามแผน 4) มีการติดตามประเมินผล 5) มีการพัฒนาต่อยอด

2. ผลการดำเนินงาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กำหนดให้ทุกหน่วยงานสาธารณสุขในจังหวัด ดำเนินการ 100% ดำเนินงานโรงพยาบาล/หน่วยงานคุณธรรม บรรลุเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ 100 % ดังนี้ สสจ. (ระดับ4) รพศ.1(ระดับ 5) รพท.1(ระดับ 5) รพช. 14 (ระดับ 3=8) (ระดับ 4=3) (ระดับ 5=3) สสอ. 16 (ระดับ 3=14, ระดับ 4=2) รพ.สต. 204 (ระดับ 2) สอน. 1 (ระดับ 2)

เป้าหมาย/จำนวนทั้งหมด/ร้อยละ 2. ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ลำดับที่ หน่วยงาน เป้าหมาย/จำนวนทั้งหมด/ร้อยละ ผลงาน/ร้อยละ 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1 แห่ง (100.0) 2 รพศ. (รพ.พระนครศรีอยุธยา) 3 รพท.(รพ.เสนา) 4 โรงพยาบาลชุมชน 14 แห่ง (100.0) 5 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 8/16 แห่ง (50.0) 16 แห่ง (100.0) 6 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 61/204 แห่ง (30.0) 204 แห่ง (100.0) 7 สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ

3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ - ควรมีการกระตุ้นและติดตามอย่างต่อเนื่อง โดยการจัดทำแผนการควบคุมกำกับติดตามและประเมินผลให้ชัดเจน พร้อมการจัดกิจกรรมเชิงรุกต่อเนื่อง - ควรจัดให้เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สรุปผลงานประจำปีระดับจังหวัด เพื่อนำเสนอ หน่วยงานคุณธรรมต้นแบบ หรือ best practice ของแต่ละหน่วยงาน

8 ราย (ร้ายแรง) 1 (ยุติเรื่อง) 22 35 46 17 16 8 42 36 10 การเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานให้มีวินัยและป้องกันการกระทำผิดวินัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รอบที่ 2/2559 เป้าหมายที่ต้องการ ร้อยละ 100 ของหน่วยงานมีการเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานให้มีวินัยและป้องกันการกระทำผิดวินัยของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์การกระทำผิดวินัย ปี 2559 (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2559) หน่วยงาน ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ปี ๒๕๕๙ สสจ 1 (ร้ายแรง) 4 (ร้ายแรง) - รพ อยุธยา 25 (ร้ายแรง) 8 ราย (ร้ายแรง) รพ เสนา 1 (ยุติเรื่อง) สถานการณ์การร้องเรียน (ตุลาคม 2557 – กรกฎาคม 2559) หน่วยงาน ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ปี ๒๕๕๙ (ต.ค.-ก.พ. สสจ 22 35 46 รพ อยุธยา 17 16 8 รพ เสนา 42 36 10

มาตรการวิธีการให้บรรลุเป้าหมาย สรุปผลการดำเนินการ เกณฑ์การประเมินติดตามความคืบหน้าของการดำเนินงานเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) 5 ระดับ - สสจ.พระนครศรีอยุธยา ฯ และ รพ.เสนา ดำเนินการได้ในระดับ 5 ครบถ้วน - รพ.พระนครศรีอยุธยา ฯ ได้ในระดับ 4 โดยดำเนินการครบถ้วนทุกกิจกรรมตามแผน เหลือเพียงสรุปผลการดำเนินการตามแผนให้ผู้บริหารรับทราบคาดว่าจะแล้วเสร็จครบถ้วนภายในสิ้นปีงบประมาณ มาตรการวิธีการให้บรรลุเป้าหมาย 1. สนับสนุนการดำเนินการของคณะกรรมการฯ ไม่ให้กระทำผิดทางวินัย เช่น เผยแพร่กรณีตัวอย่างการกระทำผิดทางวินัยเพื่อนำไปให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานให้เห็นโทษของการกระทำผิดวินัย เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เจ้าหน้าที่กระทำผิดทางวินัย 2. ชี้แจง ทำความเข้าใจกับผู้บังคับบัญชาให้เข้าใจหน้าที่ตามกฎหมายในการเสริมสร้างพัฒนาให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีวินัย และป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัย ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการประชาสัมพันธ์แผนการเสริมสร้าง ฯ ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนในหน่วยงานได้ทราบและให้ถือปฏิบัติ 2. ให้ผู้บังคับบัญชาสนับสนุนและส่งเสริมการป้องกันการกระทำผิดวินัยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา

ผู้นิเทศเขต 4 จังหวัดสิงห์บุรี คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริการ หัวข้อที่ 4 ระบบธรรมาภิบาล : ตรวจสอบภายใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้นิเทศเขต 4 จังหวัดสิงห์บุรี 1 นางสุภารัตน์ พงษ์ธะนะ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการพิเศษ สสจ. สระบุรี 2 นายศิระ เพชรเจริญจริง นักวิชาการตรวจสอบภายในชำนาญการ กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. 3. นางสุมาลี อังคณา นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ สสจ. สระบุรี 4. นางสายพิณ บุญปรี นักวิชาการเงินและบัญชี สสจ. สระบุรี สถานการณ์ ปี 2558 จังหวัดมีการดำเนินการตรวจสอบภายในตามแผน ปี 2559 จังหวัดมีการดำเนินการจัดทำแผนตรวจสอบภายในและจะดำเนินการในเดือน มีนาคม 2559

ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 1 ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 1. แผนการตรวจสอบภายในและการดำเนินการตรวจสอบภายในของทุกหน่วยงานภายในจังหวัด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ประเด็นการตรวจ ผลการดำเนินงาน 1. มีแผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 1. จังหวัดมีการจัดทำแผนการตรวจสอบ ภายในปี 2559 กำลังดำเนินการจัดส่งสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2. แผนตรวจสอบภายในปี 2559 ตรวจสอบ รพศ/ รพท. 2 แห่ง รพช. 14 แห่ง สสอ 16แห่ง รพ.สต. 205 แห่ง ข้อเสนอแนะ -

ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 1 ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 1. แผนการตรวจสอบภายในและการดำเนินการตรวจสอบภายในของทุกหน่วยงานภายในจังหวัด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (ต่อ) ประเด็นการตรวจ ผลการดำเนินงาน 2. คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด - ปี 2558 ดำเนินการรายงานผลติดตามการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะจากประเด็นการตรวจสอบที่เสนอนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด - ปี 2559 มีแผนการดำเนินการตรวจสอบภายในตามแผนที่กำหนด 2. รายงานผลการการตรวจสอบภายใน - ปี 2558 กำลังดำเนินการส่งรายงานผลให้ กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ข้อเสนอแนะ -

ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 2 ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 2. การแจ้งผลตรวจสอบภายในกลับให้หน่วยงานรับตรวจทราบภายหลังการตรวจฯ และมีการแก้ไขปรับปรุงตามประเด็นและข้อสังเกตที่พบจากการตรวจสอบภายใน ประเด็นการตรวจ ผลการดำเนินงาน 3. ดำเนินการตามแผนการตรวจสอบภายในและสรุปรายงานผลการตรวจสอบภายในภาพรวมจังหวัดรอบ 6 เดือนภายในวันที่ 18 เมษายน 2559 ดำเนินการตรวจสอบเสร็จสิ้นเดือนมิถุนายน 2559 4. ดำเนินการตรวจสอบภายในตามแผนครบ 100 % และสรุปรายงานผลการตรวจสอบภายในภาพรวมจังหวัดรอบ 9 เดือนภายในวันที่ 31 กรกฎาคม 2559 -กำลังดำเนินการสรุป ผลการตรวจสอบในภาพรวม

ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 3 ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นที่ 3. การปรับปรุงและวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางระบบแก้ไขปัญหาในภาพรวมจังหวัด ประเด็นการตรวจ ผลการดำเนินงาน 5. คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัดวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางระบบแก้ไขปัญหาในภาพรวมจังหวัด และส่งภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2559 - เมื่อได้สรุปผลการตรวจสอบแล้วจะวิเคราะห์และวางแผนในการตรวจสอบในปีต่อไป เพื่อรายงาน สป.ให้ทัน 15 สิงหาคม 2559

สรุปประเด็นที่ควรดำเนินการที่เป็นแบบอย่างที่ดี 1.มีการวางระบบการตรวจสอบภายในที่เข้มแข็ง ในส่วนของภาคีเครือข่ายระดับอำเภอ คือ การดำเนิน การร่วมกันระหว่าง โรงพยาบาลและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ในการตรวจสอบ รพ สต.ในด้านการเงิน พัสดุ การบริหารยาและเวชภัณฑ์ 2.คณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับจังหวัด มีการวางแผนพัฒนาการตรวจสอบที่ดี และมีการเพิ่มศักยภาพทั้งผู้ตรวจสอบภายในและผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดวางระบบควบคุมภายใน และระเบียบที่เกี่ยวข้อง ได้อย่างครบถ้วนและครอบคลุม

ประเด็นการตรวจราชการ สรุปประเด็นสำคัญที่เป็นความเสี่ยงที่พบจากการตรวจสอบในภาพรวมที่ควรเฝ้าระวัง ประเด็นความเสี่ยง ข้อเสนอแนะ การตรวจสอบในด้านงานการเงินที่พบ 1.การไม่ใช้ระบบการจ่ายเงินโดยการใช้เช็ค 2. การรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน - แนะนำให้ใช้ระบบสั่งจ่ายเป็นเช็คจ่ายให้เจ้าหนี้แทนการจ่ายเงินสด ตามระเบียบ (ขณะนี้มีการใช้ระบบเช็ค ที่ รพ.สต. ใน สสอ.วังน้อยที่เดียว) - แนะนำให้ รพ.สต. ทุกแห่งมีการจัดทำรายงานกระทบยอดเงินฝากทุกเดือน ต่อ สสอ. และจังหวัด เพื่อตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินให้ถูกต้องตามหลักฐาน

ประเด็นความเสี่ยง ข้อเสนอแนะ ประเด็นการตรวจราชการ สรุปประเด็นสำคัญที่เป็นความเสี่ยงที่พบจากการตรวจสอบในภาพรวมที่ควรเฝ้าระวัง ประเด็นความเสี่ยง ข้อเสนอแนะ 3.ลูกหนี้เงินยืม ด้านพัสดุ 1. การจัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สิน ยังไม่เป็นปัจจุบัน 2. การใช้รถราชการ/ การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง - ควรให้เจ้าหน้าที่การเงินทวงถามลูกหนี้เงินยืมไม่ให้เกินกำหนดระยะเวลาตามระเบียบ เพราะมีวินัยทางปกครองกำกับอยู่ เนื่องจากเป็นช่องทางการทุจริตได้ - แนะนำให้จัดทำทะเบียนคุมให้ครบทุกรายงานเป็นหมวดหมู่ -ให้มีการจัดทำรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อรายงาน สตง. เมื่อปลายปี งบประมาณ ตามระเบียบการใช้รถราชการ ปี 2523

ประเด็นการตรวจราชการ ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ต่อผู้บริหาร/ต่อระเบียบ กฎหมาย เนื่องผู้บริหารระดับสูงให้ความสำคัญในเรื่องการตรวจสอบภายในและการควบคุมภายใน ทุกระดับ - ขอให้ส่งเสริมสนับสนุนให้ต่อเนื่องทุกปี ทั้งอัตรา กำลัง งบประมาณ และขวัญกำลังใจ เพื่อความเข้มแข็งในการทำงาน เพื่อลดความเสี่ยงของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารทุกระดับ