งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC

2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา
นายครรชิต พิชัย (หน่วยพัฒนาคุณภาพนักศึกษา) นางสาวจิริยาภรณ์ ลีละวรพงษ์ (โอปอ) นางสาวณัฐนรี สวาสดิ์วงศ์ (ณัฐ) นายณัฏฐ์ ลือชัย (นัท) นายณัฐพงษ์ เจริญธนากุล (ณัฐ) นางสาวณัฐธิดา จาดสอน (เนย) นายณัฐพงษ์ มหายศดี (เจมส์) นายธนิน ติกอธิชาติ (เจมส์)

3 1. การค้นหาปัญหา/คัดเลือกหัวข้อ
2. การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย 3. การวางแผนกิจกรรม 4. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ลำดับกระบวนการทำงานตาม 7QC Story 5. การกำหนดมาตรการแก้ไขและการปฏิบัติ 6. การตรวจสอบผล 7. การกำหนดมาตรฐานปฏิบัติงาน

4 การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและเพิ่มชั่วโมงกิจกรรมแก่นักศึกษา
1. การค้นหาปัญหา/คัดเลือกหัวข้อ ลำดับ ปัญหา คะแนน ความเป็นไปได้ ความรุนแรง ความถี่ รวม 1 การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและเพิ่มชั่วโมงกิจกรรมแก่นักศึกษา 3 5 4 60 2 ความล่าช้าในการจัดสรรงบประมาณในการจัดกิจกรรม 16 ปัญหาการจัดทำแผนการจัดกิจกรรม 36 การค้นหาปัญหาและคัดเลือกปัญหาโดย การระดมสมองช่วยกันคิดวิเคราะห์ปัญหา ทั้งจากความคิดของสมาชิกภายในกลุ่มและจากตัวบุคลากร โดยมีการให้คะแนนในส่วนของ ความเป็นไปได้ ความรุนแรง และ ความถี่ จากนั้น นำค่าที่ได้ มา คำนวณ โดยใช้ ความเป็นไปได้ x ความแรง x ความถี่ = รวม

5 2. การสำรวจสภาพปัจจุบัน และตั้งเป้าหมาย
2. การสำรวจสภาพปัจจุบัน และตั้งเป้าหมาย รวมรวมข้อมูล เพื่อสนับสนุนปัญหา ทั้งทางตัวเลขและข่าวสาร สำรวจสภาพปัจจุบันที่เกิดขึ้นของปัญหาที่ได้รับเลือก โดยสอบถามจากตัวบุคลากร รวมทั้งรวบรวมข้อมูลทั้งทางปริมาณและคุณภาพ จึงได้ข้อสรุปเป็นหัวข้อ การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและเพิ่มชั่วโมงกิจกรรมแก่นักศึกษา ซึ่งทางกลุ่มได้เล็งเห็นว่าเป็นหัวข้อที่น่าสนใจเพราะส่งผลกระทบค่อนข้างมาก

6 3. การวางแผนกิจกรรม ช่วงของการวางแผน (Plan) 7 สัปดาห์
เลือกหัวข้อปัญหาที่สนใจ หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น วิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุของปัญหา ช่วงของการแก้ปัญหา (Do) 2 สัปดาห์ สร้างการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัด สำรวจจำนวนนักศึกษา ที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ จัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มชั่วโมงแก่นักศึกษา ช่วงของการตรวจสอบ (Check) 1 สัปดาห์ ตรวจสอบการประเมินและการมีส่วนร่วมของนักศึกษาผู้เข้าร่วม ผลจากการเพิ่มชั่วโมงกิจกรรม ช่วงของการแก้ไขปรับปรุง (Act) 3 สัปดาห์ -วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมและนำไปปรับปรุงและพัฒนา มีการวางแผนการทำกิจกรรม โดยแบ่งเป็น 4 ช่วงหลักๆ ตามหลักการของ QCC , Plan , Do ,Check , Act

7 3. การวางแผนกิจกรรม ผลการสำรวจนักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ
ตัวอย่าง นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนกระบวนวิชา จำนวนลงทะเบียนทั้งหมด 322 คน ขาด 3 ชั่วโมงจำนวน 6 คน ขาด 6 ชั่วโมงจำนวน 6 คน ขาด 12 ชั่วโมงจำนวน 1 คน ผลสำรวจ มาจาก รายชื่อนักศึกษาที่ไม่ได้ลงทะเบียนวิชา เทียบกับ รายชื่อนักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชา หลังจากนั้นนำรายชื่อที่พบว่าไม่ได้ลงทะเบียน มาตรวจสอบกับ พี่ครรชิต เพื่อ หาว่า ไม่ได้ลงทะเบียนเพราะสาเหตุใด และ พบว่าส่วนใหญ่ ชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบทำให้ไม่สามารถลงทะเบียนวิชานี้ได้ ซึ่ง ผลการสำรวจ ได้กล่าวไว้ใน สไลด์ข้างต้นแล้ว

8 3. การวางแผนกิจกรรม หลังจากได้คัดเลือกปัญหาแล้ว จึงนำมาวางแผนการดำเนินงานตามหลักการสร้าง Gantt Chart โดยลำดับรายละเอียดตาม 7 QC Story ดังนี้ ค้นหาปัญหา โดยคิดวิเคราะห์ร่วมกับบุคลากร สำรวจและตั้งเป้าหมาย จากหัวข้อที่เลือก การวางแผนการดำเนินงาน ในการแก้ไขปัญหาและสร้างคุณค่าให้กับกิจกรรม การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา นำปัญหาที่ได้เขียนในแผนผังก้างปลา และทำการเลือกสาเหตุที่แท้จริง การกำหนดมาตรการและดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยทางกลุ่มได้เลือกที่จะจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ การตรวจสอบและติดตามผลการแก้ไข จากการตรวจสอบชื่อนักศึกษาที่สมัครและมาเข้าร่วมรวมทั้งผลประเมินการจัดกิจกรรม

9 นักศึกษาไม่มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และ มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ
4. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา นักศึกษาไม่มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และ มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ วิเคราะห์สาเหตุ ปัจจัย และผลกระทบของปัญหาที่ถูกเลือกโดยเลือกใช้แผนภูมิก้างปลา ที่แสดงรายละเอียดของปัญหาโดยแบ่งเป็นกลุ่มสาเหตุ และสาเหตุย่อย รวมทั้งเสนอแนวทางการแก้ไขโดยการจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบกับบุคลากร ทางบุคลากรจึงเสนอการมีส่วนร่วมของนักศึกษาให้มากขึ้น

10 การมีส่วนร่วม 5. การกำหนดมาตรการแก้ไข และการปฏิบัติ
การสร้างสรรค์กิจกรรม ด้วยตนเอง การประสานงานร่วมกัน การมีส่วนร่วม ออกแบบการมีส่วนร่วมทั้งในเชิงตัวเลขและคุณภาพ เพื่อให้นักศึกษาผู้จะและนักศึกษาผู้เข้าร่วมได้เกิดการมีส่วนร่วมมากขึ้น ทั้งการประสานงาน การออกแบบกิจกรรมด้วยตนเองผ่านการเข้าร่วมและรู้จักการจัดกิจกรรมที่ลึกซึ้ง นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้ลงมือปฏิบัติจริง

11 5. การกำหนดมาตรการแก้ไข และการปฏิบัติ
1. สำรวจจำนวนนักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ ในการลงทะเบียนวิชา 2. เปิดรับสมัครเข้าร่วมโครงการเพื่อเพิ่มชั่วโมง ให้นักศึกษาและเพิ่มการมีส่วนร่วม 3. แบ่งหน้าที่ในการประสานงานกับบุคคลภายใน และภายนอก กำหนดขั้นตอนในการลงมือปฏิบัติ โดย สำรวจนักศึกษาจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนกระบวนวิชา เปิดรับสมัครนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม จัดสรรหน้าที่ให้ทั้งนักศึกษาผู้จัดและนักศึกษาผู้เข้าร่วม

12 6. การตรวจสอบผล การมีส่วนร่วม
1. ใช้การเช็คชื่อการเข้าร่วมการเดินกล่องบริจาค 2. สังเกตการปฏิบัติ ความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม 1. อ้างอิงจากการสรุปผลของแบบประเมินความพึงพอใจ กำหนดวิธีการในการตรวจสอบผลทั้งการมีส่วนร่วมและความพึงพอใจที่เกิดขึ้นภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรม

13 6. การตรวจสอบผล ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงก่อนและหลัง จำนวนนักศึกษา
กิจกรรมอื่นๆ ( ก่อน ) กิจกรรมที่จัดขึ้น โดยกลุ่มนักศึกษา ( หลัง ) จำนวนนักศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรม 94 % 98 % ตารางแสดงผลที่จากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา แสดงให้เห็นว่านักศึกษามาเข้าร่วมกิจกรรมถึง 98% ซึ่งเปรียบเทียบกับกิจกรรมอื่นที่มีนักศึกษาที่มาเข้าร่วมเพียง 94%

14 สรุปผลประเมินความพึงพอใจโดยรวม
7. การกำหนดมาตรฐานปฏิบัติงาน หัวข้อการประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย สรุปผล นักศึกษาได้รับความรู้และประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรมจิต อาสาในครั้งนี้ 8 44.4 2 11.1 4.33 คิดว่าตนเองสามารถมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้นได้ 6 33.3 1 5.6 4.56 กิจกรรมในครั้งนี้ทำให้นักศึกษาเกิดความตระหนักในบทบาทหน้าที่ของนักศึกษาต่อการพัฒนาสังคม 4.44 ความเหมาะสมของสถานที่ในการทำกิจกรรมเพื่อสังคมในครั้งนี้ 5 27.8 4.17 นักศึกษาได้เรียนรู้บทบาทผู้นำและผู้ตามได้อย่างเหมาะสม 4 22.2 3 16.7 สมควรจัดกิจกรรมจิตอาสาแบบนี้ให้กับนักศึกษารุ่นต่อไป การทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มเพื่อให้การจัดกิจกรรมประสบความสำเร็จ 7 38.9 4.5 ได้รับประสบการณ์ด้านการจัดการปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น สรุปผลประเมินความพึงพอใจโดยรวม 4.43 ผลสรุปจากการประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษาผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยแสดงให้เห็นว่า นักศึกษารู้สึกเป็นส่วนหนึ่งที่ได้ร่วมสร้างสรรค์สังคมและยังอยากให้มีการจัดกิจกรรมประเภทนี้ต่อไปเรื่อยๆ

15 Cost Saving ต้นทุนต่อหัวนักศึกษาที่ร่วมโครงการ เท่ากับ 874.57 บาท
สรุปค่าใช้จ่าย โครงการ “ รวมน้ำใจจากพี่สู่น้องเพื่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนอแล อำเภอฝาง ” วันที่ 11 พฤศจิกายน 2558 เวลา น. ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนอแล อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เงินสนับสนุนที่ได้รับ เงินสนับสนุนจากการรับบริจาค ,664.-บาท ค่าอุปกรณ์บำเพ็ญประโยชน์ ,000.- บาท ค่าใช้จ่ายในส่วนของนักศึกษา ค่าอาหารว่าง 2 มื้อและอาหารกลางวันและเครื่องดื่มนักศึกษา 5,220.- บาท ค่าเช่ารถรับ – ส่งนักศึกษาและอุปกรณ์บริจาค ,000.- บาท ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดและประกันอุบัติเหตุการเดินทาง ,146.- บาท รวม 18,366.- บาท สรุปค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นโดยแบ่งเป็นส่วนที่ขอการสนับสนุนจากทางคณะ และเงินที่ได้รับจากการรับบริจาค และคิดคำนวณ ต้นทุนต่อหัวของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ต้นทุนต่อหัวนักศึกษาที่ร่วมโครงการ เท่ากับ บาท

16 ข้อดี ปัญหาและอุปสรรค
นักศึกษามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมากขึ้น เข้าใจและเรียนรู้การจัด กิจกรรมด้วยตนเองได้ นักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบได้ชั่วโมงกิจกรรมเพิ่มขึ้น นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการการทำ QCC ทำให้เกิดกระบวนการคิด อย่างเป็นระบบ ปัญหาและอุปสรรค ปัญหาในการเลือกหัวข้อ QCC นักศึกษาไม่สนใจเข้าร่วมในการทำกิจกรรม ปัญหาในการสื่อสารทั้งตัวสมาชิกและบุคลากร สิ่งที่ได้รับจาก QCC คือ ทำให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมากขึ้น เข้าใจการประสานงาน และ ยังเข้าใจถึงการจัดกิจกรรมด้วยตนเองได้ ในขณะเดียวกัน นักศึกษายังสามารถชวนเพื่อนที่มีกิจกรรมไม่ครบมาเข้าร่วม และ ทำให้เขามีส่วนร่วมในกิจกรรมมากยิ่งขึ้น และ เพิ่มชั่วโมงกิจกรรมให้ครบ จะได้ไม่มีปัญหาในการเรียนต่อไป และยังคงได้เรียนรู้ถึงกระบวนการ แนวคิดอย่างเป็นระบบ โดยศึกษาตามองค์ประกอบหลักของ 7 QC Story อีกด้วย ปัญหาและอุปสรรค ที่พบก็เริ่มตั้งแต่ การเลือกหัวข้อ QCC, การขอบุคลากรในคณะเป็นที่ปรึกษาโครงการ อีกทั้ง ยังมีนักศึกษาบางส่วนที่ไม่สนใจเข้าร่วมในการทำกิจกรรม แม้ว่าตนจะมีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบก็ตาม ทั้งนี้ ยังพบปัญหาในการสื่อสาร ระหว่างสมาชิกและบุคลากร ซึ่งทั้งหมดนี้ก็ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี จากการมุมานะ พยายามของทุกคน

17 แนวทางการแก้ไขปัญหาระยะยาว
BACK UP 1 แนวทางการแก้ไขปัญหาระยะยาว ชี้แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการกรอกข้อมูล เนื่องจากความไม่เข้าใจในระบบของ กระบวนวิชา จัดให้มีการชี้แจ้งรายละเอียดและความสำคัญของกระบวนวิชา บ่อยขึ้น จัดให้มีกิจกรรมต้นแบบเพื่อแสดงถึงรายละเอียดการจัดกิจกรรมที่นักศึกษา ต้องการจัดกิจกรรมด้วยตนเอง มีการประชาสัมพันธ์ รวมทั้งตรวจสอบชั่วโมงกิจกรรมของนักศึกษาในแต่ละชั้นปี วางแผนการจัดกิจกรรมและประชาสัมพันธ์ถึงการเข้าร่วมกิจกรรม


ดาวน์โหลด ppt คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google