งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
แนวทางการเยี่ยมติดตามประเมิน โครงการประกวดองค์กร “ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน” ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557

2 ประเด็นนำเสนอ ความเป็นมาและขั้นตอนการประกวดองค์กร “ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน” ประเภทรางวัล เกณฑ์การประเมิน การเตรียมพร้อมสำหรับการเยี่ยมติดตามและประเมิน ประเด็นพิจารณาสำคัญ ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

3 Thailand Getting to Zero
Zero New HIV Infections • จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง 2ใน 3 จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่าร้อยละ 2 Zero AIDS-related Deaths • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ 50 • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ 50 Zero Discrimination •กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาได้รับการแก้ไข •การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และจำเพาะกับเพศสภาวะ •จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 Thailand Getting to Zero แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ แนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและ บริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ทำงาน คช.ปอ.ได้มีประกาศเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2552 เพื่อให้สถานที่ทำงาน ซึ่งรวมถึงหน่วยงานภาครัฐให้ถือเป็นหลักปฏิบัติ โดยไม่เลือกปฏิบัติและตัดสิทธิโอกาสของประชาชนอันเนื่องจากการติดเชื้อเอชไอวี และส่งเสริมให้คนทำงานมีความตระหนักในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเอดส์ และมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

4 กิจกรรมและแผนการจัดประกวดองค์กร
“ดูแล ห่วงใย ใส่ใจ ป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน” ปี 2557 แต่งตั้งคณะกรรมการ และคณะทำงาน  เดือนพฤษภาคม 2557 ประชาสัมพันธ์เชิญชวนและรับสมัคร  ปิดรับสมัคร 16 องค์กรที่เข้าประกวด มิถุนายน 2557 ดำเนินการพัฒนาองค์กรตาม  นับแต่วันสมัครถึง แนวปฏิบัติแห่งชาติฯ โดย สอวพ.และ ตุลาคม 2557 สคร.เป็นต้นแบบและเป็นพี่เลี้ยง 4. เยี่ยมติดตามประเมินองค์กรที่สมัครฯ  พฤศจิกายน 2557 5. การมอบรางวัล (องค์กรและพี่เลี้ยง)  ธันวาคม 2557 (สัมมนาระดับชาติเรื่อง โรคเอดส์ ครั้งที่ 14) ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

5 แนวทางการประกวดองค์กร “ดูแล ห่วงใย ใส่ใจ ป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน”
การส่งเสริมการนำ “แนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและ บริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ทำงาน” ไปใช้ แนวทางการประกวดองค์กร “ดูแล ห่วงใย ใส่ใจ ป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน” เพื่อส่งเสริมให้องค์กรภาครัฐ เป็นตัวอย่างในการพัฒนาองค์กร ให้เป็นองค์กร “ดูแล ห่วงใย และใส่ใจป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน” โดย ไม่มีการเลือกปฏิบัติในสถานที่ทำงานด้วยการใช้เงื่อนไขจากการติดเชื้อเอชไอวีและเพศภาวะ สนับสนุนให้บุลากรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเอดส์ ตลอดจนจัดให้มีการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีตาม “แนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ทำงาน” ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

6 คุณสมบัติขององค์กรที่สมัครเข้าร่วมโครงการ
เป็นองค์กรภาครัฐ และอื่นๆ (ไม่ใช่ภาคธุรกิจเอกชน) ทั้งจากส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ดำเนินการหรือกำลังจะดำเนินการพัฒนาองค์กรตาม “แนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและบริหารจัดการปัญหาเอดส์ในสถานที่ทำงาน” (ดูรายละเอียดแนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ทำงาน หรือดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ ข่าวประชาสัมพันธ์) ต้องส่งใบสมัครเข้าร่วมประกวดองค์กร “ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน” มายังสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตามที่อยู่ข้างต้น ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

7 ประโยชน์ที่คาดว่าหน่วยงานเข้าร่วมโครงการฯ จะได้รับ
องค์กรที่เข้าร่วมโครงการที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ได้รับรางวัลและประกาศเกียรติคุณ และได้รับการประชาสัมพันธ์ว่าเป็นองค์กรที่เคารพสิทธิไม่เลือกปฏิบัติในสถานที่ทำงานด้วยการใช้เงื่อนไขจากเอดส์และเพศภาวะ และห่วงใยป้องกันบุคลากรให้ปลอดภัยจากเอดส์ บุคลากรขององค์กรได้รับการดูแลและคุ้มครองสิทธิ โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติในสถานที่ทำงานอันเนื่องจากการติดเชื้อเอชไอวีและเพศภาวะ และได้รับการดูแลคุ้มครองป้องกันให้ปลอดภัยจากเอดส์ ประชาชนทั่วไปเกิดความรู้สึกและมีภาพพจน์ที่ดีต่อหน่วยงานที่ได้รับรางวัลและผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามแนวปฏิบัติแห่งชาติฯ เพราะเป็นองค์กรที่เคารพสิทธิไม่เลือกปฏิบัติด้วยการใช้เงื่อนไขจากเอดส์ในการจ้างงาน และให้การดูแลคุ้มครองสิทธิของคนทำงานในหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

8 ขั้นตอนการประเมินองค์กร “ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน”
รับสมัคร องค์กรที่สมัครดำเนินงานตามแนวปฏิบัติฯ พิจารณาตามเกณฑ์ขั้นที่ 1 < 60 คะแนน  60 คะแนน ไม่ผ่านการประเมิน พิจารณาให้คะแนนตามเกณฑ์ขั้นที่ 2 ประกาศเกียรติคุณ รางวัลที่ 1 และ 2  60 ไม่เกิน 80 คะแนน  80 คะแนน ขึ้นไป การเยี่ยม ติดตามประเมิน โดยทีม สคร.และสอวพ. เสนอคณะกรรมการประกวดฯ พิจารณา ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน ประกาศผลการพิจาณา และมอบรางวัล

9 ประเภทรางวัล รางวัล แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ องค์กรด้านสาธารณสุข
องค์กรด้านการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อื่นๆ กลุ่มที่ได้คะแนน คะแนน ได้ใบประกาศเกียรติคุณ กลุ่มที่ได้คะแนน 80 คะแนนขึ้นไป ได้ใบประกาศเกียรติคุณ และจะพิจารณาให้รางวัลที่ 1 และ 2 ให้กับองค์กรที่ได้คะแนนสูงที่สุดตามลำดับ องค์กรที่ได้รางวัลที่ 1 ของแต่ละกลุ่ม จะเข้ารับรางวัลในพิธีเปิดการสัมมนาระดับชาติเรื่องโรคเอดส์ ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ ธันวาคม 2557 ประธานพิธีมอบรางวัลและช่วงเวลาในการมอบรางวัลจะแจ้งให้ทราบภายหลัง ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

10 สรุปข้อมูลหน่วยงานที่เข้าร่วมประกวดองค์กร
"ดูแล ห่วงใย ใส่ใจ ป้องกันเอดส์ในที่ทำงาน" ปี 2557 (7 กรกฎาคม 2557) เขต รวม สาธารณสุข การศึกษา สวัสดิการสังคม ยุติ ธรรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อื่นๆ รพศ./รพท./รพช. รพ.สต. สสจ. มหา-วิทยาลัย/วิทยาลัย โรง เรียน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 10 4 (ศบ.จอ./สอวพ./บำราศ/สน.ส่งเสริมสุขภาพ) 1 2 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 11 4 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 3 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 7 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 20 9 5 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 6 รวมทั้งหมด 93* องค์กร (มี 2 โรงพยาบาลที่เพิ่งส่งเข้ามาเพิ่ม) ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

11 เกณฑ์การประเมิน ขั้นตอนที่ 1 ประเมินว่าองค์กรที่เข้าร่วมมีนโยบายดังต่อไปนี้หรือไม่ นโยบายไม่ใช้สถานะการติดเชื้อเอชไอวีและเพศภาวะเป็นเงื่อนไขในการคัดเลือก และรับบุคลากรเข้าทำงาน นโยบายสนับสนุนบุคลากรที่ติดเชื้อเอชไอวี ให้ทำงานและมีความก้าวหน้าในการทำงานได้ตามปกติและไม่ใช้ผลการติดเชื้อเอชไอวีเป็นเหตุผลในการเลิกจ้างหรือให้ออก นโยบายรักษาความลับส่วนบุคคลของบุคลากรในองค์กร นโยบายส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี การส่งเสริมการเข้าถึงบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีแบบสมัครใจ และส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสถานที่ทำงาน นโยบายช่วยเหลือดูแลบุคลากรที่ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และครอบครัว ให้ได้รับสวัสดิการอย่างเท่าเทียมกับบุคคลอื่นและส่งเสริมการเข้าถึงบริการดูแลรักษาเอดส์ ถ้ามีครบถึงจะผ่านไปประเมินขั้นตอนที่ 2 ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

12 ขั้นตอนที่ 2 เป็นการประเมินการดำเนินงานและการบริหารจัดการขององค์กร โดยขั้นตอนนี้ มีการให้คะแนน 100 คะแนน องค์กรที่ได้คะแนนรวม 60 คะแนนขึ้นไป จะได้รับรางวัลและใบประกาศเกียรติคุณในงานสัมมนาระดับชาติเรื่องโรคเอดส์ ครั้งที่ 14 ซึ่งกำหนดจัดระหว่างวันที่ ธันวาคม 2557 สำหรับรายละเอียดตัวชี้วัดและคะแนน มีดังนี้ มีการประกาศนโยบายเรื่องเอดส์ให้บุคลากรขององค์กรทราบอย่างทั่วถึง และเป็นลายลักษณ์อักษร (15 คะแนน) มีการจัดวางโครงสร้างทีมงานรับผิดชอบการดำเนินงานตามนโยบายที่ประกาศ และระบบการรักษาความลับของบุคลากร (5 คะแนน) มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันเอดส์และส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสถานที่ทำงาน (5 คะแนน) ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

13 5.2 ข้อเสนอแนะและแผนการดำเนินงานในปีต่อไป
4. มีการดำเนินงานเพื่อป้องกันเอดส์และส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในรอบปีที่ผ่านมา (60 คะแนน) ดังนี้ 4.1 มีกิจกรรมสร้างการเรียนรู้เรื่องเอดส์ให้กับบุคลากรขององค์กร เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเอดส์ที่ถูกต้อง และมีทัศนคติที่ดีในการอยู่ร่วมกัน (20 คะแนน) 4.2 มีกิจกรรมการให้ข้อมูลและคำปรึกษาเกี่ยวกับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจกับบุคลากร (20 คะแนน) 4.3 มีกิจกรรมส่งเสริมการป้องกันเอดส์ให้กับบุคลากรขององค์กร เช่น การจัด condom point หรือตู้จำหน่ายถุงยางอนามัย (20 คะแนน) มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน/กิจกรรม เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาองค์กร (รวม 15 คะแนน) ดังนี้ 5.1 มีรายงานแสดงความพึงพอใจของบุคลากรต่อการเข้าร่วมกิจกรรมและ/หรือความรู้ความเข้าใจเรื่องเอดส์และทัศนคติการอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อเอชไอวีของบุคลากร 5.2 ข้อเสนอแนะและแผนการดำเนินงานในปีต่อไป ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

14 สำหรับการเยี่ยมติดตามและประเมิน
การเตรียมพร้อม สำหรับการเยี่ยมติดตามและประเมิน ทำความเข้าใจแนวคิดของแนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ทำงาน การเตรียมให้ข้อมูล: ความสอดคล้อง เชื่อมโยงของคำตอบทุกข้อ ภายใต้แนวคิดและการปฏิบัติ “ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์” (ความเสมอภาค หรือไม่เลือกปฏิบัติ และคุ้มครองสิทธิของบุคคล เช่น ข้อมูลส่วนบุคคล การเข้าถึงบริการป้องกัน และดูแลสนับสนุนและรักษา เป็นต้น) หลักฐานสนับสนุน: เอกสาร ภาพแสดงกิจกรรมที่ดำเนินงาน ฯลฯ ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

15 การทำความเข้าใจแนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ทำงาน
ประกาศนี้ใช้กับ 1) หน่วยงานของรัฐ 2) สถานที่ทำงานของเอกชนทุกประเภท 3) สถานที่ทำงานอื่นๆ ตามที่คช.ปอ.กำหนด สถานที่ทำงาน หมายถึง ที่ทำงานของคนทำงานแต่ละแห่ง คนทำงาน หมายความว่า ผู้ซึ่งทำงานเพื่อรับค่าจ้าง เงินเดือน ค่าตอบแทน ส่วนแบ่ง หรือสิ่งตอบแทนอื่นๆ ที่ไม่ใช่ตัวเงิน ไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไร เช่น ลูกจ้างเอกชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ และหมายความรวมถึงพนักงานบริการทุกประเภท ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

16 หมวดที่ 1 บททั่วไป หมวดที่ 2 การดำเนินงาน
ส่วนที่ 1 มาตรฐานการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ ในสถานที่ทำงาน ส่วนที่ 2 นโยบายด้านเอดส์ในสถานที่ทำงาน ส่วนที่ 3 แผนดำเนินงาน หมวดที่ 2 การดำเนินงาน ส่วนที่ 1 บทบาทของผู้จ้างงาน ส่วนที่ 2 บทบาทของคนทำงานและองค์กรของคนทำงาน ส่วนที 3 บทบาทของหน่วยงานของรัฐ หมวดที่ 3 การติดตามและประเมินผล ส่วนที่ 1 การกำกับดูแล ส่วนที่ 2 การตรวจสอบและแก้ไข ส่วนที่ 3 การทบทวน ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

17 ความสอดคล้องของการดำเนินงานตาม
“แนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ทำงาน” การปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี การช่วยเหลือดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และผู้ได้รับผลกระทบ และส่งเสริมให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ได้รับการรักษาตามสิทธิ การส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสถานที่ทำงาน ทำความเข้าใจแนวปฏิบัติแห่งชาติฯ จัดวางแนวนโยบายโครงสร้างทีม และแผนเพื่อพัฒนาองค์กร ตามแนวปฏิบัติฯ ดำเนินการพัฒนาองค์กรตามแนวนโยบายและแนวทางฯ ติดตามประเมินผล การพัฒนาองค์กรฯ ปรับปรุง แก้ไขพัฒนาองค์กร นำช่องว่างและปัญหาอุปสรรคที่ได้จากการติดตามประเมินผลภายใน/นอก มาพัฒนาปรับปรุง A Act P Plan การพัฒนาองค์กร จัดทำและประกาศนโยบายองค์กร จัดวางโครงสร้างและทีมรับผิดชอบ จัดทำแผนปฏิบัติการ C Check D Do ติดตามประเมินผลกิจกรรมที่จัดโดยเฉพาะในเชิงพฤติกรรม (ความรู้ความเข้าใจเรื่องเอดส์ การอยู่ร่วมกัน และการป้องกันการติดเชื้อ เอชไอวี) จัดกิจกรรมส่งเสริมให้บุคลากรมีความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องเอดส์ มีทัศนคติที่ต่อการอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี และเข้าถึงบริการการป้องกันเอดส์ (ตัวอย่างเชน condom point ฯลฯ)

18 ประเด็นพิจารณาสำคัญ ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

19 ประเด็นสำคัญของแนวปฏิบัติ
การมีส่วนร่วมและรับรู้ของทุกฝ่าย เช่น ผู้แทนผู้บริหาร ผู้แทนผู้จ้างงาน ผู้แทนคนทำงาน ผู้แทนองค์กรของคนทำงาน ผู้แทนผู้ติดเชื้อเอชไอวี แล้วแต่กรณี การไม่เลือกปฏิบัติ ความเสมอภาคของชายหญิง และความหลากหลายทางเพศ การดำเนินงาน การปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี การช่วยเหลือดูแล และส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิประโยชน์ การส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสถานที่ทำงาน นโยบาย แผน การดำเนินงาน การประเมินผล การพัฒนา ต้องปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่องสม่ำเสมอ ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

20 คำถาม S&D ที่ใช้สำหรับประชากรทั่วไปปี 2557
Domain คำถาม ใช่ ไม่ใช่ การแสดงออก (กลัว) 1. คนส่วนใหญ่ลังเลที่จะไปตรวจหาเชื้อเอชไอวีหรือเอดส์ เนื่องจากกังวลว่าคนรอบข้างจะรู้ ถ้าตนเองติดเชื้อเอชไอวี การแสดงออก (รังเกียจเยียดหยาม) 2. คนที่ติดเชื้อเอชไอวีหรือเอดส์ หรือ ถูกสงสัยว่าติดเชื้อ เอชไอวี มักจะถูกรังเกียจหรือถูกเหยียดหยามจากคนรอบข้าง ทัศนคติ การเลือกปฏิบัติ 3. ท่านคิดว่าเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีหรือเอดส์ ไม่ สมควรจะเรียนร่วมห้องกับเด็กนักเรียนทั่วไป (ตัวชี้วัดใน GARPR) ความกลัว การติดเชื้อ 4. ท่านมีความรู้สึกกลัวหรือไม่ว่า ท่านอาจจะติดเชื้อเอชไอวีหรือเอดส์ได้ ถ้าไปสัมผัสกับน้ำลายของผู้ติดเชื้อ 5. ท่านรู้สึกรังเกียจที่จะซื้ออาหารสดหรืออาหารประกอบจากผู้ขายหรือผู้ประกอบอาหารที่เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีหรือเอดส์ (ตัวชี้วัดใน GARPR) การแสดงออก (อาย) 6. ท่านเห็นด้วยกับประโยคนี้หรือไม่ “ฉันคงรู้สึกอาย ถ้ามีใครบางคนในครอบครัวติดเชื้อเอชไอวีหรือเอดส์” หมายเหตุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นหน่วยงานที่ผลักดันให้เพิ่มคำถามทั้งหมด 6 คำถามในการสำรวจสภาวะสุขภาพ ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 5 ทำใน 21 จังหวัด โดยเนื้อหาครอบคลุม 3 ด้าน ที่ Global Level ได้มีการ Validation แล้วในหลายประเทศ คือ ความกลังการติดเชื้อ ทัศนคติ และการแสดงออก ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

21 การสำรวจทัศนคติ ความเห็นของประชาชน กรมควบคุมโรคโพล ครั้งที่ 1 เรื่อง การตีตราและกีดกันผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ในสังคมไทย คำถาม คำตอบ รังเกียจ ไม่รังเกียจ ไม่แน่ใจ 1) ท่านรู้สึกอย่างไรกับบุคคลต่อไปนี้ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี (ที่ไม่แสดงอาการ) ผู้ป่วยเอดส์(ที่มีอาการแสดงแล้ว) คำถาม คำตอบ ควร ไม่ควร ไม่แน่ใจ 2) ควรมีการบังคับให้ตรวจหาเชื้อเอชไอวีในกรณีใดต่อไปนี้ หรือไม่ ก่อนสมัครเรียน ก่อนบวช ก่อนสมัครเข้าทำงาน ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

22 คำถาม คำตอบ ยินดี ไม่ยินดี ไม่แน่ใจ
3) ท่านยินดีกระทำพฤติกรรมต่อไปนี้หรือไม่ ว่ายน้ำในสระเดียวกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี กินข้าวกับคนในครอบครัวที่ติดเชื้อเอชไอวี กินข้าวกับเพื่อนสนิทที่ติดเชื้อเอชไอวี ให้ลูกเรียนหนังสือร่วมชั้นเรียนกับเด็กที่มีเชื้อเอชไอวี ให้ลูกเล่นกับเด็กที่มีเชื้อเอชไอวี ใช้ห้องน้ำร่วมกับคนที่ป่วยเป็นโรคเอดส์ ดูแลคนในครอบครัวที่ป่วยเป็นโรคเอดส์ด้วยตนเอง ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

23 คำถาม คำตอบ ยินดี ไม่ยินดี ไม่แน่ใจ
4) ในสถานการณ์ต่อไปนี้ ท่านจะทำอย่างไร ถ้าท่านติดเชื้อเอชไอวีท่านจะบอกคนในครอบครัวหรือไม่ ถ้าท่านไอวี ท่านจะเดินหนีหรืออยู่ห่างๆ หรือไม่ ถ้ามีบริการตรวจเลือดเพื่อหาการติดเชื้อ เอชไอวีฟรีในห้างสรรพสินค้าท่านจะไปตรวจ หรือไม่ ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

24 คำถามเกี่ยวกับความรู้เรื่องเอดส์
ข้อคำถาม ความรู้ ใช่ ไม่ใช่ ไม่ทราบ การมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนเพียงคนเดียวที่ไม่มีเชื้อเอชไอวีเป็นวิธีการหนึ่งในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ถุงยางอนามัยสามารถลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี คนที่ดูมีสุขภาพแข็งแรง อาจเป็นผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวีได้ ยุงเป็นพาหะนำเชื้อเอชไอวีมาสู่คนได้ กินอาหารร่วมกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี สามารถติดเชื้อเอชไอวีได้ มีเพศสัมพันธ์กับคู่รักที่น่าไว้วางใจโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย สามารถติดเชื้อเอชไอวีได้ ปัจจุบันมียาต้านไวรัสที่สามารถยับยั้งเชื้อเอชไอวีได้ ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

25 คำถามเกี่ยวกับความรู้เรื่องเอดส์ ระดับความรู้สึก (น้อย – มาก)
เหตุการณ์ ระดับความรู้สึก (น้อย – มาก) ไม่เลย เล็กน้อย พอสมควร อย่างมาก 1 2 3 ท่านกังวลว่าจะติดเชื้อเอชไอวี จากการกินข้าวร่วมสำหรับกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ท่านกังวลว่าจะติดเชื้อเอชไอวี จากการใช้จานชาม ช้อน ส้อม แก้วน้ำ ร่วมกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ท่านกังวลว่าจะติดเชื้อเอชไอวี จากการใช้ห้องน้ำร่วมกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ท่านกังวลว่าจะติดเชื้อเอชไอวี จากการหยิบจับเสื้อผ้าหรือข้าวของเครื่องใช้ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ท่านกังวลว่าจะติดเชื้อเอชไอวี จากการทำแผลให้กับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ท่านกังวลว่าจะติดเชื้อเอชไอวี จากการเจาะเลือดผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

26 ระดับความรู้สึก (น้อย – มาก)
เหตุการณ์ ระดับความรู้สึก (น้อย – มาก) ไม่เลย เล็กน้อย พอสมควร อย่างมาก 1 2 3 ท่านกังวลว่าจะติดเชื้อเอชไอวี จากการตรวจวัดไข้ให้กับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ท่านกังวลว่าจะติดเชื้อเอชไอวี จากการสัมผัสมือ แขน ขาของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ท่านเต็มใจที่จะซื้ออาหารจากคนขายที่ติดเชื้อเอชไอวี ท่านรู้สึกอายหรือไม่ หากมีคนในครอบครัวของท่านติดเชื้อเอชไอวี ท่านเห็นด้วยว่า หากมีพนักงาน/บุคลากรในหน่วยงานของท่านติดเชื้อเอชไอวี ควรจะให้ออกจากงาน ท่านเต็มใจทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ดูแล ห่วงใย ใส่ใจป้องกันเอดส์ ในที่ทำงาน

27


ดาวน์โหลด ppt สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google