งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking
นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐

2 IC FAI ITA

3 IC 5 มิติ FAI 4 ด้าน ITA 1 ด้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง : IC
ที่ กลุ่มประกันสุขภาพ สป.สธ. กลุ่มงานประกัน งานการเงิน กลุ่มตรวจสอบภายใน สป.สธ งานตรวจสอบและ ควบคุมภายใน ปปช. ศปท.กระทรวง สธ. FAI 4 ด้าน IC 5 มิติ ITA 1 ด้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง : IC 1. มิติด้านการจัดเก็บรายได้ ตัวชี้วัดที่ 8 2 ด้านการพัฒนาคุณภาพบัญชี : AC 2. มิติด้านการเงิน สสจ./รพท. 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง : FM 3. มิติด้านงบการเงิน ตัวชี้วัดที่ 79 4 การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ : UC 4. มิติด้านพัสดุ รพช./สสอ. 5. มิติด้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง

4 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
IC AC FM UC Internal Control การควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง Accounting Audit การพัฒนาคุณภาพบัญชี Financial Management การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลัง Unit Cost การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ

5 มิติด้านพัสดุ IC มิติด้านการเงิน
มิติด้านระบบการควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. มิติด้านการเงิน มิติด้านพัสดุ มิติด้านบัญชีและงบการเงิน มิติด้านการจัดเก็บรายได้ ค่ารักษาพยาบาลสิทธิต่าง ๆ IC เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ

6 มิติด้านการจัดเก็บรายได้สิทธิต่าง ๆ
REVIEW เปรียบเทียบกับ การควบคุมภายใน 9 กระบวนงาน เปลี่ยนเป็น 5 มิติ มิติด้านการจัดเก็บรายได้สิทธิต่าง ๆ กระบวนงานจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่ายตรง กรมบัญชีกลาง กระบวนงานจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC กระบวนงานจัดทำแผนประมาณการรายได้และควบคุมค่าใช้จ่าย กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ กระบวนงานจัดแผนการจัดวัสดุการแพทย์ กระบวนงานจัดแผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ กระบวนงานจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุประจำปี (วัสดุสำนักงานเงินบำรุง) กระบวนงานการควบคุม เก็บรักษา (บริหารคลังยา เวชภัณฑ์ และวัสดุ) มิติ ด้านพัสดุ

7 มิติด้านการควบคุมภายใน
ตามระเบียบ คตง. มิติด้านการเงิน มิติด้านบัญชี และ งบการเงิน

8 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ มีหน่วยงานในสังกัด
สถานการณ์ การดำเนินการตรวจสอบภายใน จะต้องดำเนินการหน่วยงานในสังกัดทุกหน่วยงาน 100 % สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ มีหน่วยงานในสังกัด แบ่งเป็น รพ. 22 แห่ง สสอ. 22 แห่ง รพ.สต. 254 แห่ง รวม หน่วยรับตรวจ

9 ผลการดำเนินงาน ปี 2560 สสอ. ศรีรัตนะ และรพ.สต.ลูกข่าย รวม 5 แห่ง
สสอ. ศรีรัตนะ และรพ.สต.ลูกข่าย รวม 5 แห่ง ตูม / พิงพวย / เสื่องข้าว / ศรีสุข สสอ. ขุขันธ์ และ รพ.สต.ลูกข่าย รวม 5 แห่ง ใจดี / กันจาน / หนองลุง / นิคมซอยกลาง สสอ. ขุนหาญ และ รพ.สต.ลูกข่าย รวม 5 แห่ง ห้วยจันทร์ / ทับทิมสยาม07 / กันตรวจ / โพธิ์น้อย

10 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านการเงินการคลัง
FAI 60 4 ด้าน

11 แบบประเมินประสิทธิภาพการเงินการคลัง
IC AC FM UC Internal Control แบบสอบทาน 18 ด้าน แบบประเมินประสิทธิภาพการเงินการคลัง 5 มิติ Accounting Audit Financial Management Planfin Unit Cost

12 การวัดผลงาน 5 Step

13 เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI
องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การควบคุมภายใน(Internal Control : IC ) (๙ กระบวนงาน) แต่งตั้งคณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบขององค์กรเสนอหัวหน้าส่วนราชการ หน่วยบริการประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ ๑. มิติด้านการจัดเก็บ รายได้ค่ารักษาพยาบาล สิทธิต่าง ๆ ๒. มิติด้านการเงิน ๓. มิติด้านพัสดุ ๔. มิติด้านบัญชีและ งบการเงิน ๕. มิติด้านการประเมิน ระบบการควบคุม ภายในตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดิน พ.ศ. 2544 วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน และ จัดทำแผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ จากผลการประเมินระบบการควบคุมภายในที่พบจุดอ่อน จัดส่งผลให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560) ดังนี้ 1. แบบประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ 2. ผลการวิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน 3. แผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) มีคณะทำงานพัฒนาระบบบัญชีในหน่วยบริการและมีการประชุมอย่างน้อยทุกไตรมาส เพื่อ กำหนดประเด็นปัญหาที่ส่งผลต่อคุณภาพบัญชี คณะทำงาน มีการรายงานถึงความก้าวหน้าของการแก้ไขปัญหาเสนอต่อผู้บริหาร ( ทุกไตรมาส) มีการเสนอรายงานการเงิน การวิเคราะห์สถานะการเงินของ รพ. เสนอต่อผู้บริหาร (ผอ. รพ.) ทุกไตรมาส มีรายงานการเงิน ของลูกข่าย (รพ.สต.) ส่งส่วนกลางได้ครบทุกแห่ง ผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จ เป็นที่ยอมรับ (คุณภาพบัญชีทางอิเล็คทรอนิกส์ หน่วยบริการ แม่ข่าย ผ่านเกณฑ์๑๐๐ %)

14 เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI
องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง (Financial Management : FM) มี คกก.บริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการและมีการประชุมเพื่อกำหนดประเด็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเงินการคลัง มี คกก. จัดทำแผนทางการเงิน(PLANFIN) ของหน่วยบริการ ที่มีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย/กลุ่มงาน มีการติดตามการบริหารแผนทางการเงิน(PLANFIN) ให้เป็นไปตามแผนทุกไตรมาส ใช้เครื่องมือทางการเงิน เพื่อเฝ้าระวังและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร (ดัชนี ๗ ระดับ, ค่ากลางกลุ่มระดับ รพ.,LOIฯลฯ) มีผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จ -ไม่มีความเสี่ยงทางการเงินระดับ ๗ ตามเกณฑ์การประเมินวิกฤติของกระทรวง การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ (Unit Cost:UC) มีแผนการพัฒนาการจัดทำต้นทุน Unit Cost ไว้ในแผนการดำเนินงานประจำปีของหน่วยบริการ มีคณะทำงานพัฒนาต้นทุนประจำหน่วยบริการ (จากแผนกหรือฝ่ายที่เกี่ยวข้อง) มีการตรวจสอบคุณภาพความครบถ้วนของข้อมูลบริการทั้ง OP/IP ประจำเดือน มีการนำเสนอต้นทุนบริการ OP/IP ต่อ ผู้บริหาร (ผอ.รพ.) ประจำทุกไตรมาส มีต้นทุนบริการ OP/IP อยู่ในเกณฑ์เดียวกับกลุ่มระดับบริการด้วยวิธีการ Quick Method (ค่า Mean+๑SD)

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google