การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ในการเข้าถึงผู้ใช้บริการห้องสมุด Using Social Networking Sites for Library Outreach เสรี คำเปลี่ยน | ชมพูนุช สราวุเดชา | สุภาลัย สิงคะตา ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พวกเราทำงานอยู่ที่ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พวกเราทำงานอยู่ที่ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งมีหน้าที่หลักในการสนับสนุนการเรียน การสอน และการวิจัย พวกเราทำงานอยู่ที่ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งมีหน้าที่หลักในการสนับสนุนการเรียน การสอน และการวิจัย
การมุ่งไปสู่เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ด้านบริการ การบริการสารสนเทศสนับสนุนการวิจัย การบริการที่เป็นเลิศ ผู้ใช้บริการ บุคลากร การได้รับการนึกถึงเป็นที่แรก เมื่อต้อการสารสนเทศ ความช่วยเหลือ ความวางใจในบริการที่จะได้รับ / โซเชียลมีเดียเป็นช่องทางที่สำคัญในการให้บริการอย่างรวดเร็ว สนับสนุนการทำวิจัยแก่ผู้ใช้บริการ ส่งเสริมให้บุคลากรใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นเครื่องมือเข้าถึงผู้ใช้
Social Media Tools หนึ่งในสิ่งที่เราทำตามวัตถุประสงค์ด
มี 2 แบบที่เราใช้อย่างเข้มข้นต่อเนื่อง และมุ่งประสิทธิภาพอย่างชัดเจน ห้องสมุดที่ไหนก็ใช้ แต่
ประกาศวัตถุประสงค์ +แนวปฏิบัติการให้บริการอย่างชัดเจน กำหนดหลักการในการดำเนินงาน ประกาศวัตถุประสงค์ +แนวปฏิบัติการให้บริการอย่างชัดเจน เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ใช้บริการพิจารณาก่อนสมัครเข้ากลุ่ม ดูแลการส่งข้อความเข้ากลุ่มอย่างเคร่งครัด เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย และไม่รบกวนสมาชิกของกลุ่ม โพสต์ข้อความทุกวัน วันละไม่เกิน 1 โพสต์ 1–2 โพสต์ ยกเว้นวันหยุดราชการ และ นักขัตฤกษ์
สร้างทีมงาน Social Media Team คัดเลือกจากผู้ที่มีทักษะการใช้งานสื่อโซเชียลมีเดีย ร่วมสร้างคอนเทนต์ และเผยแพร่ ดูแลฟีดแบ็กต่างๆ จากผู้ใช้บริการ
ให้บริการสารสนเทศผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 486 คน เริ่ม 15 ม.ค. 2559 (31/08/61)
กายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวก การวิจัย บริการ กายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวก การศึกษา เทคโนโลยี
4,475 คน (31/08/61) เริ่มเปิด 13 ต.ค. 2554
Goal 5,000 คน (ภายในปี 62) 4,475 คน (31/08/61)
455 62 125
สิ่งที่ต้องการศึกษา หาคำตอบ โซเชียลมีเดียทำให้เกิดการเข้าถึงบริการของห้องสมุดอย่างไรบ้าง? (ในแง่ของปริมาณการเข้าถึง การรับรู้ด้วยการแสดงความรู้สึก และแนวโน้ม...) ลักษณะวิธีการใช้สื่อโซเชียลของห้องสมุด ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะของทีมงานหรือไม่?
ศึกษาอย่างไร
วางแผนการดำเนินงาน ประเมินและคัดเลือกเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ได้รับความนิยมสูง
1 ม.ค. 2560 31 ส.ค. 2561 = 20 เดือน (608 วัน) วางแผนการดำเนินงาน กำหนดกลุ่มประชากร = ผู้ใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ 1 ม.ค. 2560 31 ส.ค. 2561 = 20 เดือน (608 วัน)
ผลการศึกษา
อัตราการเพิ่มเข้า/ออกจากกลุ่มไลน์ ผลการศึกษา อัตราการเพิ่มเข้า/ออกจากกลุ่มไลน์ 1 มกราคม 2560 – 31 สิงหาคม 2561 198 คน → 486 คน เข้า 15 คน / เดือน ออก 1 คน / เดือน
อัตราการกด Like/Unlike ผลการศึกษา อัตราการกด Like/Unlike เพิ่มขึ้น 7 คน/เดือน (41%) Unlike 17 คน / เดือน 10 คน / เดือน Like @medlibcmu 13 ต.ค. 2554 – 12 ต.ค. 2561 (7 ปี)
กราฟแสดงจำนวนคน Like และ Unlike เฉลี่ย ต่อ 1 เดือน Monthly New Likes 64% Monthly Unlikes 36%
อัตราการโพสต์ Facebook เฉลี่ย 25 ครั้ง/เดือน
อัตราการแสดงปฏิกิริยา เฉลี่ย 3,646 ครั้ง/เดือน
เฉลี่ย 26,710 ครั้ง/เดือน
ได้อะไรจากการศึกษา
เห็นแนวโน้มที่ดี อัตราการเพิ่มเข้าของสมาชิก > อัตราการ ออก ทำให้ห้องสมุดมั่นใจในแนวทางการดำเนินงาน ทำให้ทราบว่า ทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (การ ออกแบบสื่อ การจับประเด็นที่อยู่ในกระแสมาปรับใช้ได้รวดเร็ว ทันท่วงที) มีความสำคัญต่อการใช้โซเชียลเป็นเครื่องมือในการเข้าถึง ผู้ใช้บริการเป็นอย่างมาก
อภิปราย + ข้อเสนอแนะ ตื่นตัว+พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง From CMU’s Freshmen Survey Sem. 01/18 #1 #2 ตื่นตัว+พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง ประสิทธิภาพของสื่อสังคมออนไลน์ รักษาคุณภาพ พัฒนาเนื้อหา คุณภาพ+ปริมาณ ต่อยอดการศึกษา เพื่อปรับปรุง+พัฒนา การเข้าถึงบริการห้องสมุด ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จะเห็นได้ว่าการเข้าถึงผู้ใช้บริการโดยสื่อสังคมออนไลน์ มีประสิทธิภาพอย่างยิ่ง และมีแนวโน้มที่จะได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น โดยวัดจากอัตราการกดไลก์เพจ สร้างความผูกพัน สร้างการยอมรับ จากผู้ใช้บริการ ขยายกลุ่ม
การนำไปใช้ประโยชน์ ด้านการบริหาร ผู้บริหารสามารถใช้ประเมินผลการปฏิบัติงาน และสมรรถนะของบุคลากร สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับห้องสมุด/หน่วยงานอื่น ต่อผู้ใช้ ผู้บริหาร
การนำไปใช้ประโยชน์ ด้านการบริการ เผยแพร่ข้อมูลไปสู่ผู้ใช้บริการได้รวดเร็ว ในวงกว้าง เป็นช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
การนำไปใช้ประโยชน์ ด้านบุคลากร Life Long Learning เพิ่มทักษะการเลือก+คัดกรองข้อมูล เพิ่มความสามารถด้านการพัฒนาคอนเทนต์ สร้างทักษะการสื่อสาร การรับมือกับความเห็นต่างๆ ทางออนไลน์ Life Long Learning
การนำไปใช้ประโยชน์ ต่อห้องสมุดอื่น ห้องสมุดคณะภายใน มช. ห้องสมุดภายนอก มช. สามารถนำขั้นตอนการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ไปปรับใช้ตามบริบท ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการบริหารงานบริการ
Impact ระยะสั้น ระยะยาว การรับรู้ตัวตน ประโยชน์ และความสำคัญของห้องสมุด ภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร ความผูกพันของผู้ใช้บริการที่มีต่อห้องสมุด ความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการต่อองค์กร ซึ่งมีโอกาสเกิดได้สูง เมื่อความผูกพันมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีอย่างต่อเนื่อง สามารถนำขั้นตอนการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ไปปรับใช้ตามบริบท ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการบริหารงานบริการ
Thank you