การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่ายสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ด้วยเทคโนโลยีเครื่องเสมือนโดยใช้ซอฟต์แวร์ Proxmox ร่วมกับ Ceph Storage บนพื้นฐานของระบบเครือข่ายแบบ Link Aggregation นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
หัวข้อนำเสนอ ที่มาและปัญหา วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินงาน 1 ที่มาและปัญหา 2 วัตถุประสงค์ 3 ขั้นตอนการดำเนินงาน 4 สรุปและอภิปรายผลการดำเนินงาน
ที่มาและปัญหา 01 02 03 04 ปรับปรุงระบบเครือข่าย สำนักหอสมุดปรับปรุงระบบเครือข่ายใหม่ สามารถใช้งานฟังก์ชัน Link Aggregation ได้ ปรับปรุงระบบเครือข่าย มีเครื่องแม่ข่ายเพิ่มขึ้น ระบบสารสนเทศเพิ่จำนวนมากขึ้น ทำให้ยากต่อการดูแลและบำรุงรักษา เครื่องแม่ข่ายเพิ่มมากขึ้น 01 02 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลเสียหายมากกว่า 1 ชุด ทำให้ไม่สามารถกู้คืนข้อมูลกลับมาได้ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลเสียหาย เนื่องจากไฟฟ้าภายในมหาวิทยาลัยดับบ่อยครั้ง ทำให้เครื่องแม่ข่ายหยุดทำงาน ระบบไฟฟ้าไม่เสถียร 03 04
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเครื่องแม่ข่ายโดยใช้เทคโนโลยีเครื่องเสมือนที่มีประสิทธิภาพ . เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครือข่ายสำหรับเครื่องแม่ข่ายโดยใช้เทคโนโลยีการรวมลิงค์ ตอบปัญหาข้อที่ 2 , 3 และ 4 ตอบปัญหาข้อที่ 1 และ 4 ตอบปัญหาข้อที่ 1 - 4 เพื่อเป็นต้นแบบของการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานการของเครื่องแม่ข่ายของสำนักหอสมุด
การศึกษาและเปรียบเทียบ ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย ขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 การศึกษาและเปรียบเทียบการทำงานของทั้ง 3 ซอฟต์แวร์ การศึกษาและเปรียบเทียบ 1. ออกแบบระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่าย 2. ออกแบบระบบโครงสร้างพื้นฐานระบบเครือข่าย การออกแบบระบบ 1. ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายสำหรับคลัสเตอร์หลัก 2. ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายสำหรับคลัสเตอร์สำรอง ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย 1. ติดตั้งซอฟต์แวร์ Proxmox 2. ติดตั้งซอฟต์แวร์ Ceph ติดตั้งซอฟต์แวร์ 1. ทดสอบประสิทธิภาพของ Link Aggregation 2. ทดสอบการทำงานของซอฟต์แวร์ Ceph ทดสอบประสิทธิภาพ
ศึกษาและเปรียบเทียบคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ เปรียบเทียบคุณลักษณะซอฟต์แวร์ คุณลักษณะการรองรับทาง Har dware Windows Server 20 12 R2 Hy per-V VMWare ESXi Proxmox จำนวน Logical Processors 320 576 768 จำนวนของ Physical Memory 4TB 12TB จำนวน CPU เสมือนต่อเครื่อง เสมือน 64 8 160 จำนวนหน่วยความจำต่อเครื่อง เสมือน 1 TB 6128 GB 2 TB การสร้างระบบคลัสเตอร์ รองรับ ไม่รองรับ ความสามารถในการทำ Live Mi gration ความสามารถในการสำรองและ กู้คืนเครื่องเสมือน เมื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ทั้ง 3 แล้วพบว่า Windows Server มีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับซอฟต์แวร์ Proxmox ผู้พัฒนาจึงได้ทดลองติดตั้งและทดสอบการใช้งานของทั้ง 3 ซอฟต์แวร์ เพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกซอฟต์แวร์
การออกแบบระบบโครงสร้างพื้นฐาน ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 3 เครื่องและอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล 9 ชุด ส่วนที่ 1 คลัสเตอร์หลัก เครื่องแม่ข่ายสำหรับสำรองข้อมูลของทั้งคลัสเตอร์หลักและคลัสเตอร์สำรอง ส่วนที่ 3 NFS Server ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องและอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล 6 ชุด ส่วนที่ 2 คลัสเตอร์สำรอง ระบบเครือข่ายแบบ Link Aggregate ที่เชื่อมต่อกับเครื่องแม่ข่าย ส่วนที่ 4 ระบบเครือข่าย
ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย Link Aggregate สำหรับ VM Link Aggregate สำหรับ Ceph ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย Switch ให้ทำงานเป็นแบบ Link Aggregation เพื่อเพิ่มขนาดช่องทางการรับส่ง-ข้อมูลและเพิ่มความเสถียรให้กับระบบเครือข่ายส่วนกลางของเครื่องแม่ข่าย
ติดตั้งซอฟต์แวร์ Proxmox Primary Cluster Secondary Cluster ติดตั้งบนเครื่องแม่ข่ายคลัสเตอร์หลักจำนวน 3 เครื่อง ติดตั้งบนเครื่องแม่ข่ายคลัสเตอร์สำรองจำนวน 2 เครื่อง
ติดตั้งซอฟต์แวร์ Ceph Ceph สำหรับ Primary Cluster Ceph สำหรับ Secondary Cluster อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลบนคลัสเตอร์หลัก 9 ชุด อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลบนคลัสเตอร์หลัก 6 ชุด
ทดสอบการประสิทธิภาพการทำงาน สร้าง VM 2 เครื่อง ใช้โปรแกรม iperf3 ส่งข้อมูลจาก VM ทั้ง 2 VM พร้อมๆ กัน ปริมาณการส่งข้อมูลเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทดสอบประสิทธิภาพ Link Aggregation ถอดอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลออกชุดละ 1 ตัว ทีละชุด ระบบรองรับความเสียหายได้ 3 ชุด จาก 9 ชุด ทดสอบประสิทธิภาพของ Ceph
สรุปผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพ Windows Server 2012 R2 Hyper-V ใช้ผู้ดูแลระบบ 4 ท่าน จากหน่วยงานอื่น สร้าง User ให้เข้าใช้ระบบ และประเมินเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแต่ละซอฟต์แวร์ VMWARE ESXi Windows Server 2012 R2 Hyper-V Proxmox ความสะดวกในการบริหารจัดการเครื่องเสมือนและการติดตั้งค่าการใช้งาน 5 ความเร็วในการย้ายเครื่องเสมือนในขณะที่เครื่องเปิดใช้งาน N/A ความเร็วในการย้ายเครื่องเสมือนในขณะที่เครื่องปิดการใช้งาน ความสามารถคงทนต่อความล้มเหลวของเครื่องแม่ข่าย กรณีเครื่องแม่ข่ายไม่สามารถให้บริการได้จำนวน 1 เครื่องจาก 3 เครื่อง
สรุปผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพ (ต่อ) Windows Server 2012 R2 Hyper-V ใช้ผู้ดูแลระบบ 4 ท่าน จากหน่วยงานอื่น สร้าง User ให้เข้าใช้ระบบ และประเมินเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแต่ละซอฟต์แวร์ VMWARE ESXi Windows Server 2012 R2 Hyper-V Proxmox ความสะดวกและรวดเร็วในการสำรองและการกู้คืนเครื่องเสมือน 5 ความรวดเร็วในการอ่านและเขียนข้อมูล เมื่อทำงานร่วมกับ Link Aggregation 4 ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อซอฟต์แวร์ Free Licenses
สรุปผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพโดยผู้พัฒนา ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพบางประเด็นสำหรับผู้พัฒนา โดยพิจารณาจากการติดตั้งซอฟต์แวร์และติดตั้งค่าการใช้งาน VMWARE ESXi Windows Server 2012 R2 Hyper-V Proxmox ความสะดวกในการติดตั้งให้ทำงานเป็นแบบคลัสเตอร์ N/A 4 5 ความสามารถคงทนต่อความล้มเหลว ของเครื่องแม่ข่าย กรณีเครื่องแม่ข่าย ไม่สามารถให้บริการได้จำนวน 1 เครื่องจาก 3 เครื่อง ความสามารถคงทนต่อความล้มเหลวของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล 3 ชุดจำอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล 9 ชุด
สรุปและอภิปราย A B D C ซอฟต์แวร์ VMWare ESXi ซอฟต์แวร์ Proxmox รุ่นทดสอบเป็นรุ่นฟรี ไม่สามารถทำคลัสเตอร์ได้ ไม่สามารถทำ Live Migration ได้ มีระบบสำรองเครื่องเสมือน เหมาะกับหน่วยงานที่มีเครื่องแม่ข่าย 1-2 เครื่อง ซอฟต์แวร์ VMWare ESXi เป็น Open Source Software ทำคลัสเตอร์ได้ ทำ Live Migration ได้ มีระบบสำรองเครื่องเสมือน ซอฟต์แวร์ Proxmox A B D ต้องซื้อลิขสิทธิ์ของ Windows Server ทำคลัสเตอร์ได้แต่ยุ่งยาก ทำ Live Migration ได้ มีระบบสำรองเครื่องเสมือน มีข้อจำกัดในการสร้าง VM เกินกว่าทรัพยากร เหมาะสมกับหน่วยงานที่ใช้งาน Windows Server ลิขสิทธิ์แล้ว ซอฟต์แวร์ Windows 2012 R2 Hyper-V C เนื่องจากระบบ Ceph จัดเก็บข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย ดังนั้นถ้าหน่วยงานใดมีระบบเครือข่ายแบบ 10Gbps จะทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของ Ceph ดีขึ้น การใช้งานร่วมกับ 10Gbps
Thank you Q & A