แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

แผนงาน แผนคน แผนเงินและแผน IT
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานงานสุขศึกษา และการใช้โปรแกรมประเมินตนเอง
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน หมวด P 13 ข้อ
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
CLT Profile ภาควิชา/ทีมนำทางคลินิก
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
P P P การพัฒนากระบวนการคุณภาพในมิติของ 3P
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย บันได 3 ขั้นของการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย

เกณฑ์การรับรองคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย PHCA แบ่งเป็น 3 ขั้น ดังนี้ บันไดขั้นที่ 1 ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในทุกหน่วยงานมีการทบทวนความเสี่ยงที่สำคัญ มีความตระหนักในการจัดการความเสี่ยงและวางแผนแนวทางแก้ไข ได้ครอบคลุมและปฏิบัติได้ตามมาตรการ/ระบบงานที่วางไว้ เป้าหมายบันไดขั้นที่ 1 สร้างองค์กรให้มีหลักคิดในการดำเนินงาน เมื่อองค์กรผ่าน บันไดขั้นที่ 1 จะแสดงพฤติกรรมองค์กร คือ “ทำงานประจำให้ดี มีอะไรคุยกัน ขยันทบทวน”

ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการตามบันไดขั้นที่ 1 ดังนี้ จัดทำ Organization Profile ที่แสดงลักษณะ/บริบทขององค์กร อย่างชัดเจน 2. ประเมินตนเองโดยศึกษาบริบท / สถานการณ์ของศูนย์บริการสาธารณสุข พัฒนากระบวนการคุณภาพใน 4 มิติ คือ • การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion) • การป้องกันและควบคุมโรค (Prevention and control of Disease) • บริการตรวจรักษาโรคในระดับปฐมภูมิ (Primary Health Care) • การฟื้นฟูสภาพ (Rehabilitation)

โดยใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ตามหลัก 3 P ในทุกมิติ Purpose คือ การกำหนดวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดของการพัฒนาคุณภาพอย่าง ชัดเจน 2. Process คือ การจัดทำกระบวน/จัดกิจกรรมเพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดที่ได้กำหนด 3. Performance คือ การประเมินผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดและนำผลลัพธ์ที่ได้มาใช้ในการ คาดการณ์ แนวโน้ม ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาต่อเนื่อง

ศูนย์บริการสาธารณสุขนำเสนอเอกสาร สรุปผลการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) เพื่อประกอบการตรวจประเมินตามตัวชี้วัดบันไดขั้นที่ 1 ประกอบด้วย Organization Profile เอกสารสรุปผลการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) ใน 4 มิติ

บันไดขั้นที่ 2  มีการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ (อย่างน้อย 6 เดือน) เชื่อมโยงสู่การวางระบบงานที่เหมาะสม สอดคล้องกับเป้าหมายและบริบท ขององค์กร  มีการติดตามตัวชี้วัดที่สำคัญของทุกหน่วยงาน ทุกระบบงาน และแสดงให้เห็นการใช้ประโยชน์จากการติดตามตัวชี้วัดดังกล่าว มีการปฏิบัติตามมาตรฐาน PHCA ใน 6 ระบบ • Risk Management • การพัฒนาสิ่งแวดล้อม • การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในบริการด้านการรักษาพยาบาล • การพัฒนาระบบยา • การพัฒนาระบบเวชระเบียน • การพัฒนาระบบการให้บริการในชุมชน

เป้าหมายบันไดขั้นที่ 2 สร้างองค์กรให้มีหลักคิดในการดำเนินงาน เมื่อองค์กรผ่าน บันไดขั้นที่ 2 จะแสดงพฤติกรรมองค์กร คือ “เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด”

ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการตามบันไดขั้นที่ 2 ดังนี้ 1. ทบทวน Organization Profile ทุกระบบงานให้เป็นปัจจุบัน 2. ประเมินตนเอง โดย การทบทวนระบบงานสำคัญ ใน 6 ระบบดังต่อไปนี้ Risk Management การพัฒนาสิ่งแวดล้อม การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในบริการ ด้านการรักษาพยาบาล การพัฒนาระบบยา การพัฒนาระบบเวชระเบียน การพัฒนาระบบการให้บริการในชุมชน

โดยใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ตามหลัก 3 P ในระบบงานสำคัญ 6 ระบบ โดยแต่ละระบบกำหนดวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด จัดทำกระบวนการ / กิจกรรมและวิธีการประเมินผล

ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการตามบันไดขั้นที่ 2 ดังนี้ 3. ศูนย์บริการสาธารณสุขจัดทำแนวทางการพัฒนาคุณภาพ ตามตัวชี้วัดใน 6 ระบบงานสำคัญ 4. ศูนย์บริการสาธารณสุข ทบทวนผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบตัวชี้วัดใน 6 ระบบงานสำคัญ 5. ศูนย์บริการสาธารณสุข สรุปผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA)

ศูนย์บริการสาธารณสุขนำเสนอเอกสาร สรุปผลการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) เพื่อประกอบการตรวจประเมินตามตัวชี้วัดบันไดขั้นที่ 2 ประกอบด้วย Organization Profile ที่ทบทวนและเป็นปัจจุบัน รายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) ตามตัวชี้วัด

บันไดขั้นที่ 3 มีการบูรณาการ การพัฒนาคุณภาพระบบงานและหน่วยงาน มีการปฏิบัติตามมาตรฐาน PHCA อย่างครบถ้วน จนเป็นวัฒนธรรมคุณภาพ เป้าหมายบันไดขั้นที่ 3 สร้างองค์กรให้มีหลักคิดในการดำเนินงาน เมื่อองค์กรผ่าน บันไดขั้นที่ 3 จะแสดงพฤติกรรมองค์กร คือ “ผลลัพธ์ดี มีวัฒนธรรม นำมาตรฐานมาใช้”

ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการตามบันไดขั้นที่ 3 ดังนี้ 1. ทบทวน Organization Profile ทุกระบบงานให้ป็นปัจจุบัน 2. ประเมินตนเอง ในการพัฒนาคุณภาพระบบงานบริการ ทุกระบบ ของศูนย์บริการสาธารณสุข ตามมาตรฐาน PHCA อย่างครบถ้วน เน้นการบูรณาการและการเชื่อมโยง • มีการกำหนดวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด • มีการจัดทำกระบวนการหรือกิจกรรมที่ส่งผลต่อการบรรลุผล สำเร็จตามตัวชี้วัด • มีการประเมินผลตัวชี้วัดอย่างชัดเจน • มีการวิเคราะห์ผลเพื่อคาดการณ์และประเมินแนวโน้ม ในการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่องและรักษา

Organization Profile ที่ทบทวนและเป็นปัจจุบัน ศูนย์บริการสาธารณสุขนำเสนอเอกสารสรุปผล การดำเนินงานกระบวนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) (ครบทุกระบบ) เพื่อประกอบการตรวจประเมิน ตามตัวชี้วัดบันไดขั้นที่ 3 ประกอบด้วย Organization Profile ที่ทบทวนและเป็นปัจจุบัน

2. รายงานที่แสดงถึงการบูรณาการณ์และการเชื่อมโยง การพัฒนาคุณภาพระบบงานและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐาน PHCA อย่างครบถ้วน แสดงขอบเขตการวัดผลการดำเนินงาน 7 ด้าน ด้านการบริการ รักษาพยาบาล แบบผสมผสาน และการฟื้นฟูสภาพ(ภายในศูนย์) ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคตามกลุ่มประชากร (ในชุมชน) ด้านการเรียนรู้ของชุมชน ด้านการมุ่งเน้นผู้รับบริการ / ผู้รับผลงาน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลกระบวนการ ด้านการนำ

ตัวชี้วัดกลยุทธ์หลัก ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ร้อยละของจำนวนโรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุข สังกัดกรุงเทพมหานครให้บริการครบทั้งการรักษาพยาบาล ป้องกันโรค ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสภาพ โดยแต่ละด้านมีคุณภาพเทียบได้กับมาตรฐานสากล ศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ผ่านการรับรอง มาตรฐาน PHCA บันไดขั้นที่ 1 ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 90 ศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ผ่านการรับรอง มาตรฐาน PHCA บันไดขั้นที่ 2 ศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ผ่านการรับรอง มาตรฐาน PHCA บันไดขั้นที่ 3 www.themegallery.com

ตารางกำหนดส่งผลงานตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ 2557

Thank You