ปีงบประมาณ 2561 พระราชดำรัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
รายงานสถานการณ์E-claim
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบาย ทิศทาง แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2561 พระราชดำรัส สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก องค์พระราชบิดาแห่งการแพทย์ แผนปัจจุบันของไทย นำเสนอโดย... นายลิขิต อังศุภานิช ผช.เลขาฯ คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ

“ทำไมต้องมีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่?”

พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕   มาตรา ๔๗ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน 

2549 อปท.นำร่อง 888 แห่ง 2554 อปท.เต็มพื้นที่ผ่านการประเมิน 2552 อปท.ที่มีความพร้อม 2554 อปท.เต็มพื้นที่ผ่านการประเมิน

วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ 1 2 3 4 5

ข้อ ๗ เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้ (๑) เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

(๒) เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชน หรือหน่วยงานอื่น ในพื้นที่ ได้ดำเนินงานตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ให้แก่สมาชิกหรือประชาชนในพื้นที่ และกรณีมีความจำเป็นต้องจัดซื้อวัสดุที่มีลักษณะเป็นครุภัณฑ์ให้สนับสนุนได้ในวงเงินไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาทต่อโครงการ วัสดุที่มีลักษณะเป็นครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาของกลุ่มหรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่น ที่ได้รับการสนับสนุนนั้นๆ

(๓) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ของศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ หรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนด เป็นเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น

(๔) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ ละปีงบประมาณนั้น และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาทต่อหน่วย โดยการจัดซื้อจัดจ้างให้ใช้ระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยอนุโลม และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ

(๕) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์ได้

ภาพรวมเงิน UC ปี 61 กองทุนย่อย ไต ลอกต้อ ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ส่งเสริมป้องกัน** กองทุนย่อย ส่งเสริมป้องกันระดับชาติ(PP_nation) ไต ลอกต้อ ส่งเสริมป้องกันระดับเขต PP_A (4บ./ปชก.) ส่งเสริมป้องกันในหน่วยงานสาธารณสุข(PP_Basic) (360บ.) ส่งเสริมป้องกัน_ชุมชน** 45 บ./ปชก. กองทุนดูแล ผู้สูงอายุ ฯ กองทุนฟื้นฟู 16บ./ปชก. อปท. สมทบ 30-60% อบจ. สมทบ 100%

“มุ่งตอบสนองความต้องการ ในด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่” นโยบายกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ - เป็นนโยบายสาธารณะ (Public policy) “มุ่งตอบสนองความต้องการ ในด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่” หน้า 5 - เจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมของ อปท.เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ สนับสนุนให้ ปปช.แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุน ปชช.ในการดูแลสุขภาพตนเอง ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของ ปชช. สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง และสร้างกลไกในสังคมเข้าร่วมกันแก้ปัญหา หน้า 33

เป้าหมายและตัวชี้วัดกองทุนฯ ในปี 2560 - บริหารจัดการมีประสิทธิภาพ 1.บริหารจัดการเงินคงเหลือไม่เกิน 10% 2.เกิดทีมพี่เลี้ยง(Coaching) จังหวัดละ 10 คน 3.เกิดระบบบริหารจัดการกองทุนแบบออนไลน์(www.localfund.happynetwork.org) - นวัตกรรมที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาพ 1.เกิดนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผ่านกลไกกองทุนสุขภาพตำบลในประเด็นร่วม - นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ 1.กองทุนสุขภาพตำบลจัดทำนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพผ่านเครื่องมือธรรมนูญสุขภาพ 45 แห่ง เพิ่มขีดความสามารถของคน/กรรมการ/ชุมชน/พี่เลี้ยง เกิดชุดความรู้/นวัตกรรม/ภูมิปัญญา สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย เกิดกติกาชุมชน แผนการดำเนินงาน 3-4 ปี แผนประจำปี จัดทำประชาคมหมู่บ้านเพื่อทราบสถานการณ์ชุมชนทุกปี รู้เป้าหมายกองทุน และดำเนินการให้สอดคล้อง รู้เป้าหมาย/และตัวชี้วัดของกองทุน ปี 2560 จัดการระบบข้อมูลผ่านอิเลคโทรนิคไฟล์ให้เป็นปัจจุบัน ประเมินตนเองปีละครั้ง จัดทำเป้าหมายธรรมนูญสุขภาพให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน จะมีพี่เลี้ยงติดตามทุกกองทุนฯ ระบบการตรวจสอบจากตรวจสอบผ่านทางอินเตอร์เน็ต

เป้าหมายและตัวชี้วัดกองทุนฯ ในปี 2561 - บริหารจัดการมีประสิทธิภาพ 1.บริหารจัดการเงินคงเหลือไม่เกิน 10% 2.เกิดทีมพี่เลี้ยง(Coaching) ลงพื้นที่อย่างน้อย 2 ครั้ง 3.เกิดระบบบริหารจัดการกองทุนแบบออนไลน์(www.localfund.happynetwork.org) 4.มีแผนงานอย่างน้อย 5 เรื่องนำร่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย - นวัตกรรมที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาพ 1.เกิดนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผ่านกลไกกองทุนสุขภาพตำบลในประเด็นร่วม - นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ 1.กองทุนสุขภาพตำบลจัดทำนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพผ่านเครื่องมือธรรมนูญสุขภาพ หรือสถานการณ์สุขภาพในชุมชน 1.เพิ่มขีดความสามารถของคน/กรรมการ/ชุมชน/พี่เลี้ยง 2.เกิดชุดความรู้/นวัตกรรม/ภูมิปัญญา 3.สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย 4.เกิดกติกาชุมชน สิ่งที่กองทุนฯต้องดำเนินการในพื้นที่ บริหารจัดการเงินคงเหลือไม่เกินร้อยละ 10 แผนสุขภาพชุมชน 3-5 ปี แผนประจำปี มีแผนงานนำร่องอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร/โภชนาการ และกิจกรรมทางกาย จัดทำประชาคมหมู่บ้านเพื่อทราบสถานการณ์ชุมชนทุกปี รู้เป้าหมายกองทุน และดำเนินการให้สอดคล้อง รู้เป้าหมาย/และตัวชี้วัดของกองทุน ปี 2561 จัดการระบบข้อมูลผ่านอิเลคโทรนิคไฟล์ให้เป็นปัจจุบัน ประเมินตนเองปีละครั้ง จัดทำเป้าหมายธรรมนูญสุขภาพให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน จะมีพี่เลี้ยงติดตามทุกกองทุนฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง/กองทุนฯ ระบบการตรวจสอบจากตรวจสอบผ่านทางอินเตอร์เน็ต

แนวทางการทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 ปี 61 ป้อนชุดโครงการบริหาร 15% จำนวน 1 โครงการ กรอกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชน ประชุมทุกเดือน ต.ค.-ธ.ค. พีเลี้ยงประจำกองทุน ลงประชุมร่วมคณะกรรมการ จัดพัฒนาศักยภาพ กรรมการ การทำแผน/เขียนโครงการ การประเมินผลดำเนินงาน ปี 60 ป้อนโครงการ ประเภท 7(1),(2),(3),(5) กองทุน ฯ ติดตามการทำกิจกรรม ทำแผนสุขภาพชุมชน ระยะ 3-5 ปี มี.ค.- ส.ค. *** ออก TOR-โอนเงินจากระบบเว็บไซต์ ม.ค.- มี.ค. ก.ย. พ.ย.60-ม.ค.61 พี่เลี้ยง พบกองทุนครั้งที่ 1 มิ.ย.-ส.ค. พี่เลี้ยง พบกองทุนครั้งที่ 2 เป้าหมาย เงินกองทุนสุขภาพตำบล สามารถโอนสนับสนุนผู้รับทุน >ร้อยละ 60 เงินทั้งหมด เงินกองทุนสุขภาพตำบล สามารถโอนสนับสนุนผู้รับทุน >ร้อยละ 90 เงินทั้งหมด

สถานการณ์ระบบสุขภาพชุมชนจากการระดมความเห็นจากชุมชน 1.ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด เป็นต้น 2.ความปลอดภัยในชุมชน อาชญากรรม อุบัติเหตุ 3.โรคเรื้อรัง (เชิงรุกในชุมชน หมู่บ้านปรับเปลี่ยน พฤติกรรม คัดกรองตาต้อกระจก ลดภาวะโรคแทรกซ้อน จากเบาหวาน ) 4.โรคติดต่อ ( โรคไข้เลือดออก ฉี่หนู มาลาเรีย มือ เท้าปาก) 5.อนามัยแม่และเด็ก เด็กเยาวชน ครอบครัว( ตย. โรงเรียนพ่อแม่ ) 6.ผู้สูงอายุ (สนับสนุนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผสส.) 7.อาหารและโภชนาการ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ พัฒนาการเด็ก) 8.สิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการขยะ 9.กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง (พฤติกรรม อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม)

สิ่งที่ต้องดำเนินการในปี 2561 แผนการดำเนินงาน 3-4 ปี / แผนประจำปี จัดทำประชาคมหมู่บ้านเพื่อทราบสถานการณ์ชุมชนทุกปี รู้เป้าหมายกองทุน และดำเนินการให้สอดคล้อง รู้เป้าหมาย/และตัวชี้วัดของกองทุน ปี 2561 จัดการระบบข้อมูลผ่านอิเลคโทรนิคไฟล์ให้เป็นปัจจุบัน ประเมินตนเองปีละครั้ง จัดทำเป้าหมายธรรมนูญสุขภาพให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน จะมีพี่เลี้ยงติดตามทุกกองทุนฯ ระบบการตรวจสอบจากตรวจสอบผ่านทางอินเตอร์เน็ต

ตัวอย่างแผนการดำเนินงาน 3-4 ปี แบบเสนอแผนงาน/โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ลำดับที่ ประเด็นปัญหา ชื่อโครงการ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย งบประมาณ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 2561 (บาท) 2562 2563 2564 1   2. กลุ่มเด็กวัยเรียน - ผู้ปกครอง และนักเรียนขาดความรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชน ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ลดการใช้สารเคมี โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สตูลศานติศึกษาสุขภาพดีถ้วนหน้าด้วยสมุนไพรไทย เพื่อส่งเสริมกิจกรรมด้านสุขภาพให้กับนักเรียน พ่อแม่ผู้ปกครอง และป้องกันอุบัติเหตุในชุมชน เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรสามารถนำพืชสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เป้าหมาย : คณะครู บุคลากร นักเรียน และผู้สนใจ จำนวน 1,000 คน 67,950 50,000 - ร้อยละ 80 ผู้ปกครอง ครูมีความรู้และมีสุขภาพที่ดีขึ้น นักเรียน ครูและบุคลากรสามารถนำพืชสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผู้ปกครอง ครูมีความรู้และมีสุขภาพที่ดีขึ้นและสามารถป้องกันอุบัติที่อาจเกิดขึ้นในชุมชนได้  นักเรียน ครูและบุคลากรสามารถนำพืชสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โรงเรียนบ้านปิใหญ่  โรงเรียนสตูลศานติศึกษา

ทบทวนระเบียบกองทุนฯ 1. ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้ อปท.ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 2. ประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557

ทบทวนระเบียบกองทุนฯ 3. ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้ อปท.ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559

บทบาทหน้าที่คณะกรรมการกองทุนฯ เดิม ใหม่ 1.พิจารณาอนุมัติแผน 2.ออกระเบียบที่จำเป็น 3.ควบคุม กำกับ ดูแล การจ่ายเงิน เก็บรักษาเงิน จัดทำบัญชี 4.กำกับดูแลหน่วยงาน กลุ่มหรือองค์กรที่รับเงินตามที่อนุมัติ 5.สนับสนุนให้ประชาชนกลุ่มต่างๆเข้าถึงบริการ 6.สรุปการดำเนินงาน รายงาน ฯลฯ ให้ สปสช.,สตง,ภายในเดือน ธ.ค. ทุกปี 7.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงาน 1.เหมือนเดิม 2.เหมือนเดิม 3.ท้องถิ่นทำ 4.เหมือนเดิม 5. เหมือนเดิม 6.ท้องถิ่นทำ ทำเพียงพิจารณาเห็นชอบ 7.บางคณะกรรมการ

ทบทวนระเบียบกองทุนฯ 1. สปสช.จัดสรรงบประมาณให้ 45 บาท/ประชากรหนึ่งคน 2. อปท.สมทบ - อบต.ขนาดเล็ก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 - อบต.ขนาดกลาง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 - อบต.ขนาดใหญ่/ทต. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 - ทม./ทน. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

ทบทวนระเบียบกองทุนฯ 3. การจัดสรรงบประมาณ 5 ประเภท (หน้า 23 ดูหน้า 160-161) - ประเภทที่ 1 กิจกรรมสนับสนุนหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ - ประเภทที่ 2 กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชน และชุมชนท้องถิ่น/หน่วยงานอื่น - ประเภทที่ 3 กิจกรรมการสนับสนุนการดูแลเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ป่วยเรื้อรัง - ประเภทที่ 4 กิจกรรมการบริหารจัดการกองทุน/พัฒนาศักยภาพกรรมการ/และพัฒนาระบบบริหารจัดการ - ประเภทที่ 5 กิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่

ทบทวนระเบียบกองทุนฯ 3. การจัดสรรงบประมาณ 5 ประเภท (ขยายความหน้า 50) - ประเภทที่ 1 สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู (ภาครัฐทั้งหมด) - ประเภทที่ 2 สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริม ป้องกัน (ภาครัฐ+เอกชน) - ประเภทที่ 3 สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู (ภาครัฐ+เอกชน) - ประเภทที่ 4 กิจกรรมการบริหารจัดการกองทุน/พัฒนาศักยภาพกรรมการ/และพัฒนาระบบบริหารจัดการ(กองทุนฯ) - ประเภทที่ 5 สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ (ภาครัฐทั้งหมดควรจะเป็น อปท.)

ทบทวนระเบียบกองทุนฯ 4.คณะกรรมการที่ควรมี - คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ สปสช.แต่งตั้ง - คณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงานโครงการ กองทุนฯแต่งตั้ง - คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผล กองทุนฯแต่งตั้ง - คณะทำงานกองทุนฯ กองทุนฯแต่งตั้ง - คณะกรรมการจัดซื้อ-จัดจ้าง,การเงิน นายกฯแต่งตั้ง - คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแล กองทุนฯแต่งตั้ง ระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 5.ระเบียบกองทุนฯ ปรับตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันฯปี 57

การดำเนินงานกองทุนฯ อบต.กำแพง ขั้นตอนที่ 1 แก้ไขระเบียบกองทุนฯเดิม ให้เป็นปัจจุบัน ขั้นตอนที่ 2 จัดทำแผนประจำปี ขั้นตอนที่ 3 ประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่วนทราบ ขั้นตอนที่ 4 ส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมรับแผนงาน/โครงการ และคัดกรองเบื้องต้น ขั้นตอนที่ 5 คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการฯ พิจารณากลั่นกรองโครงการ ขั้นตอนที่ 6 คณะกรรมการบริหารฯ พิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ

การดำเนินงานกองทุนฯ อบต.กำแพง ขั้นตอนที่ 7 คณะทำงานกองทุนเชิญผู้ที่ได้รับอนุมัติมาชี้แจงแนวทางการจัดทำโครงการ เอกสาร รายงาน เป็นต้น ขั้นตอนที่ 8 ผู้ที่ได้รับอนุมัติมาทำบันทึกข้อตกลง ขั้นตอนที่ 9 ส่วนสาธารณสุขฯดำเนินการจัดทำฎีกาการเบิกจ่ายเงิน ขั้นตอนที่ 10 คณะอนุกรรมการติดตามฯ เยี่ยมติดตาม ขั้นตอนที่ 11 ทุกโครงการที่จัดทำเรียบร้อยแล้วจัดทำรายงานส่งกองทุนฯ (กรณีไม่ส่งดำเนินการจัดทำหนังสือทวงถาม) ขั้นตอนที่ 12 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 13 ประชุมประชาคมเพื่อจัดทำแผนสุขภาพปีถัดไป