การสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้ได้มาตรฐานนานาชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ส่วนสื่อสารองค์กร ปรับปรุงเมื่อ 10 กันยายน 2561
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
3 ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมโรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
SMS News Distribute Service
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การติดตาม (Monitoring)
ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ท่าเรือกรุงเทพ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้ได้มาตรฐานนานาชาติ การสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้ได้มาตรฐานนานาชาติ แพทย์หญิงวราลักษณ์ ตังคณะกุล รองผู้อำนวยการ สำนักโรคติดต่อทั่วไป หัวหน้ากลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค E.Mail : hapdocw@gmail.com

เนื้อหา กระบวนการดำเนินการให้บรรลุตามมาตรฐาน ผู้มีส่วนร่วม กลไกที่สำคัญ ระดับสมรรถนะในการพัฒนาของช่องทางเข้าออกประเทศ ขั้นตอน และการรับรองขององค์การอนามัยโลก การสนับสนุนช่องทางเข้าออกประเทศ

IHR Strategic Implementation Plan National Capacity Strengthening International initiatives and networking NATIONAL SURVEILLANCE AND RESPONSE WHO GLOBAL ALERT AND RESPONSE SYSTEM THREAT-SPECIFIC CONTROL PROGRAMMES INTERNATIONAL TRAVELS AND TRANSPORTS LEGAL PROCEDURES AND MONITORING GLOBAL PARTNERSHIP

IHR 2005 ALL SECTORS RESPONSIBLE Multi-disclipline Cross-sectoral Muti-dimension Muti-layer IHR 2005

Obligations to build capacities at PoE, comply with IHR 2005 Article 20 and Annex 1B: Airports, ports, ground crossings capacities Access to medical service Safe environment Access to rooms for interview, quarantine, isolation Ability to disinsect, disinfect etc.

Local Intermediate National สมรรถนะหลักในการเฝ้าระวัง และตอบสนองของประเทศที่ต้องพัฒนา ตาม กรอบ IHR (2005) ภาคผนวกที่ 1 A Local Intermediate National 8 Core Capacities Legislation and Policy Coordination Surveillance Response Preparedness Risk Communications Human Resources Laboratory Potential hazards Infectious Zoonosis Food safety Chemical Radio nuclear Events at Points of Entry PREVENT DETECT RESPOND PREVENT DETECT RESPOND

Core capacity requirements for designated points of entry Art DESIGNATION OF POINTS OF ENTRY States Parties shall designate Airports and Ports for developing capacities – Annex 1b States Parties where justified for PH reasons, may designate ground crossings for developing capacities – Annex 1b, taking into consideration volume and frequency of international traffic and public health risks of the areas in which international traffic originates. States Parties sharing common borders should consider: Bilateral and multilateral agreements Joint designation of adjacent ground crossing for capacities – Annex 1b Identify competent authority for each designated point of entry

นิยามของช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ ด่านตรวจคนเข้าเมือง 81 ด่าน/ช่องทาง ด่านศุลกากร 47 ด่าน ด่านควบคุมโรค 68 ด่าน ด่านส่วนกลาง ด่านส่วนภูมิภาค 18 IHR Designated PoE จุดผ่อนปรนทางการค้า 54 ช่องทาง ด่านในสังกัด สสจ ช่องทางธรรมชาติ ทุกตารางเมตรตลอดแนวชายแดน The IHR (2005) define a point of entry as "a passage for international entry or exit of travelers, baggage, cargo, containers, conveyances, goods and postal parcels, as well as agencies and areas providing services to them on entry or exit".

พรมแดนห้วยโก๋น พรมแดนแม่สาย พรมแดนหนองคาย-ท่านาแร้ง (รถไฟ) ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๑ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ พรมแดนวัดหายโศก พรมแดนท่าลี่ พรมแดนบึงกาฬ พรมแดนแม่สอด พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๓ พรมแดนสังขละบุรี (เจดีย์สามองค์) พรมแดนนครพนม (ท่าเรือ) ท่าอากาศยานอุดรธานี พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๒ พรมแดนบ้านพุน้ำร้อน พรมแดนมุกดาหาร(ท่าเรือ) พรมแดนช่องเม็ก พรมแดนภูสิงห์ (ช่องสะงำ) ท่าอากาศยานดอนเมือง พรมแดนช่องจอม (กาบเชิง) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พรมแดนคลองลึก พรมแดนบ้านแหลม ท่าเรือกรุงเทพ พรมแดนบ้านผักกาด ท่าอากาศยานหัวหิน ท่าอากาศยานอู่ตะเภา พรมแดนสิงขร ท่าเรือมาบตาพุด ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์ พรมแดนบ้านหาดเล็ก ท่าเรือระนอง ท่าเรือแหลมฉบัง และท่าเรือศรีราชา ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าเรือเกาะสีชัง ท่าอากาศยานเกาะสมุย ท่าเรือภูเก็ต ท่าเรือเกาะสมุย ท่าอากาศยานกระบี่ ท่าเรือนครศรีธรรมราช ท่าเรือกระบี่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ พรมแดนปาดังเบซาร์ ท่าเรือสงขลา พรมแดนสะเดา พรมแดนบูเก๊ะตา พรมแดนสุไหงโกลก พรมแดนบ้านประกอบ พรมแดนเบตง

ระยะเวลาของการพัฒนาสมรรถนะ ตามที่กำหนดไว้ใน IHR, 2005 และการขอขยายเวลาตามมาตรา 13

Core capacity requirements for designated points of entry Art WHO PORTS & AIRPORTS CERTIFICATION Under request of State Party to certify, after investigation, compliance with Annex I requirements WHO shall publish a list of certified airports and ports WHO shall develop and publish the certification guidelines

PoE’s Achievement comply with IHR, 2005 JEE CERTIFY CCAT JEE CERTIFY = IHR CERTFICATION JEE = JOINT EXTERNAL EVALUATION REFERENCE LEVEL REF = REFERENCE LEVEL (3) CORE CAPACITY ASSESSMENT TOOL CAPACITY IN ROUTINE AND EMERGENCY SITUATION

วิธีการประเมินและการวิเคราะห์ผล

Additional achievement มาตรฐานการดำเนินงาน (IHR 2005) < 1 Fundamental 1 Inputs and processes 2 Outputs and outcomes 3 Additional achievement การพัฒนาอยู่ระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ขีดความสามารถที่จำเป็นขั้นต่ำ (prerequisites) การพัฒนาอยู่ระดับปานกลาง (moderate functioning) ขาดปัจจัยนำเข้า/กระบวนการพัฒนาที่สำคัญ การพัฒนาอยู่ระดับดี (strong functioning) เห็นผลกระบวนการพัฒนา การพัฒนาอยู่ระดับดีมาก (advance) มีการประเมินผลการพัฒนา และเผยแพร่ผล ปัจจุบัน 18 ช่องทางอยู่ในช่วงการพัฒนาฯ ในระดับ 1-2 ช่องทางที่เหลือที่มีคำสั่งคณะทำงานพัฒนาช่องทางฯ การพัฒนาอยู่ในช่วงที่ 1 ดังนั้นจึงสนับสนุนให้มีการพัฒนาในระดับที่สูงขึ้นไป

JEE : Goal of Point of Entry (PoE) เป้าหมาย : ประเทศสมาชิกควรกำหนดช่องทางเข้าออกประเทศ และรักษาสมรรถนะหลักของท่าอากาศยานนานาชาติ และ ท่าเรือสากล (และหากมีเหตุผลทางด้านสาธารณสุขประเทศสมาชิกอาจกำหนด อาจกำหนดพรมแดนทางบก) ในการเพื่อการดำเนินในด้านสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อจัดการกับความเสี่ยงต่างๆ ด้านสาธารณสุข (มาตรา 20 IHR,2005 ) ผลกระทบที่พึงประสงค์ : สามารถตรวจจับภาวะอันตรายที่เกิดขึ้นที่ช่องทางเข้าออกได้ทันท่วงที และตอบโต้ได้มีประสิทธิภาพ (มาตรา 2 IHR,2005 ) ที่มา : Joint external evaluation tool: International Health Regulations (2005).

ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม JEE คะแนน ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม JEE ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะในภาวะปกติ ช่องทางเข้าออกประเทศมีตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ No Capacity – 1 ไม่มีสมรรถนะ-1 ช่องทางไม่มีสมรรถนะในการให้บริการทางด้านการแพทย์ ไม่มีแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขในระดับชาติ สำหรับใช้ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่เกิดชึ้นที่ช่องทางเข้าออกประเทศ สมรรถนะจำกัด Limited Capacity – 2 ช่องทางเข้าออกประเทศที่กำหนด มีการจัดบริการด้านการแพทย์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ เครื่องมืออุปกรณ์และสถานที่อย่างเพียงพอ ในการตรวจวินิจฉัยโรคเพื่อประเมินและให้การดูแลผู้เดินทางที่เจ็บป่วย (ภาคผนวก 1B, หัวข้อ1a) มีแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (ทั้ง 5 ภัยสุขภาพ) ในระดับชาติ สำหรับใช้ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่เกิดชึ้นที่ช่องทางเข้าออกประเทศ โดยบรูณาการกับแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอื่นๆ ครอบคลุมกับภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และบริการอื่นๆ ที่ช่องทางเข้าออกประเทศจัดให้มีขึ้น รวมทั้งมีการเผยแพร่ไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ Developed Capacity – 3 ช่องทางเข้าออกประเทศที่กำหนด สามารถเข้าถึงเครื่องมือและบุคลากร เพื่อการขนย้ายผู้เดินทางที่เจ็บป่วย ไปยังสถานบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสม มีความพร้อมในการประเมินผู้เดินทางและสัตว์ที่ถูกปนเปื้อน/ติดเชื้อ โดยดำเนินการ ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ หรือประสานงานขอความช่วยเหลือจากสถานบริการในพื้นที่ ตลอดจนมีความพร้อมสำหรับการประเมินและกักกันผู้เดินทางที่สงสัยป่วย

ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม JEE (2) คะแนน ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม JEE (2) ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะในภาวะปกติ ช่องทางเข้าออกประเทศมีตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ Demonstrated Capacity – 4 มีโปรแกรมการตรวจตรา เพื่อให้มั่นใจว่ามีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยที่ช่องทางเข้าออกประเทศ มีโปรแกรมดำเนงานควบคุมพาหะนำโรคและแหล่งรังโรค ในช่องทางเข้าออกประเทศและบริเวณใกล้เคียงช่องทางเข้าออกประเทศ (ภาคผนวก 1b, หัวข้อ 1e) มีระบบส่งต่อและการขนส่งเพื่อเคลื่อนย้ายผู้เดินทางที่เจ็บป่วยไปยังสถานบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสม โดยมีการปรับปรุงและทดสอบแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอย่างสม่ำเสมอ และมีการจัดทำเป็นรายงาน Sustainable Capacity – 5 มีฝึกอบรมบุคคลากร ในการตรวจสอบยานพาหนะ ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ (ภาคผนวก 1b, หัวข้อ 1c) มีการประเมินประสิทธิภาพของการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (ทั้ง 5 ภัยสุขภาพ) ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ ตลอดจนพิมพ์เผยแพร่

สรุปผล JEE ช่องทางเข้าออกประเทศ ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะในภาวะปกติ ช่องทางเข้าออกประเทศมีการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ 18 ช่องทางที่กำหนด Demonstrated Capacity – No Capacity Developed Capacity – 3 มีความพร้อมในการประเมินผู้เดินทางและสัตว์ที่ถูกปนเปื้อน/ติดเชื้อ โดยดำเนินการ ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ หรือประสานงานขอความช่วยเหลือจากสถานบริการในพื้นที่ ตลอดจนมีความพร้อมสำหรับการประเมินและกักกันผู้เดินทางที่สงสัยป่วย (เฉพาะโรคติดเชื้อ และโรคติดต่อระหว่างสัตว์สู่คน) ช่องทางฯ ที่นอกเหนือจาก 18 แห่ง Developed Capacity – No Capacity เหตุผล: หน่วยบริการทางการแพทย์ของช่องทางเข้าออกประเทศไม่มีสถานพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติ สถานพยาบาล พ.ศ.2541

5 ขั้นตอนในการที่องค์การอนามัยจะออกใบรับรองว่า ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะหลักตามที่ IHR, 2005 กำหนด ปรึกษาหารือกับองค์การอนามัยโลก ส่งเอกสารทางการเพื่อขอรับการรับรอง พร้อมแนบผลการประเมินตนเอง WHO ทบทวนเอกสาร ตอบรับ และดำเนินการ WHO แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อให้ใบรับรอง ทำการทบทวนเอกสาร และส่งผลการทบทวนเอกสาร ประเทศที่ขอรับการประเมิน และ WHO เห็นพ้องในการตรวจสอบที่ช่องทางเข้าออกประเทศ วางแผน และกำหนด Terms of Reference ทำการตรวจสอบ และจัดทำเอกสารผลการตรวจสอบโดยทีมประเมิน ทีมประเมินของ WHO ให้คำแนะนำที่ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้คำแนะนำต่อการออกใบรับรอง และประกาศผลการรับรอง

การออกใบรับรองขององค์การอนามัยโลก (เจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์) เฉพาะ ท่าอากาศยาน และท่าเรือ ว่ามีสมรรถนะตาม IHR, 2005

เนื้อหา กระบวนการดำเนินการให้บรรลุตามมาตรฐาน ผู้มีส่วนร่วม กลไกที่สำคัญ ระดับสมรรถนะในการพัฒนาของช่องทางเข้าออกประเทศ ขั้นตอน และการรับรองขององค์การอนามัยโลก การสนับสนุนช่องทางเข้าออกประเทศ

SMART AND INTEGRATED FENCE FOR SECURITY, WEALTHY AND SUSTAINABILITY QUARANTINE STRONGER SMART AND INTEGRATED FENCE FOR SECURITY, WEALTHY AND SUSTAINABILITY

Quarantine stronger for international standard SMART FENCE GOAL: PREVENT DETECT RESPONSE INTEGRATED LAW ENFORCEMENT BOTH INTERNATIONAL (IHR, 2005) AND NATIONAL LAW (CD ACT, 2016) HOST AGENT ENVIRONMENT < GLOBALIZATION< ASEAN CONTEXT

การสนับสนุนช่องทางเข้าออกประเทศ สร้างความตระหนัก กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผ่าน คณะอนุกรรมการฯ ช่องทางเข้าออกประเทศ เตรียม รับการประเมิน JEE และ Certification โดยการพัฒนาทีมประเมิน สำหรับช่องทางเข้าออกประเทศ แต่ละประเภท และประเมินช่องทางที่ถูกกำหนดให้ต้องพัฒนา สนับสนุนทางวิชาการ โดย การถ่ายทอด ความรู้ วิชาการ เพื่อแสดงหลักฐานความเชี่ยวชาญ ตามข้อกำหนดใน CCAT ให้สามารถเลื่อนระดับเป็นเชี่ยวชาญได้ โดยร่วมประเมิน กรณี สคร หรือ สสจ ร้องขอ สำหรับช่องทางอื่น ๆ สนับสนุนการเขียนแผน PHEIC พัฒนาเครื่องมือในการเขียน และปรับปรุงแผนของช่องทางให้ได้มาตรฐาน ตามที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ พัฒนาแผนต้นแบบทาง รังสี และเคมี ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดการประชุมวิชาการ อบรม สนับสนุน การดูงาน การมาฝึกงานที่ด่านฯ สังกัดส่วนกลาง

เอกสารวิชาการ...

กลไกการดำเนินงาน (IHR, 2005)

การติดตามและสนับสนุนฯช่องทาง จากส่วนกลาง ในปี 2558 ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าเรือสงขลา ท่าอากาศยานสมุย และท่าเรือเกาะสมุย ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือแหลมฉบัง พรมแดนเชียงของ

DEMONSTRATED SAFE ENVIRONMENT AT PoE (ข) บุคลากรและ อุปกรณ์ในการส่งต่อ ผดท ป่วย (ก) ประเมินสิ่ง อน อุปกรณ์และ บุคลากรในการ รักษา ผดท ป่วย (ค) บุคลากรผ่าน การอบรม ตรวจ ยานพาหนะ (จ) บุคลากรผ่าน อบรมและโครงการ ควบคุมพาหะนำโรค (ง) ดูแลสิ่งแวดล้อม น้ำ อาหาร ขยะ ห้องน้ำ และ บริเวณเสี่ยงเกิดโรค โครงการ ตรวจสอบ QUARANTINE OFFICERS INSPECTOR, Art 22 IHR, DDC ACT 5 components 29

แผนฉุกเฉินและการผสานแผนช่องทางเข้าออกประเทศ (เพื่อรับมือโรคและภัยสุขภาพตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548)

IMPACT FROM HAVING IHR 2005 HEALTH TRUST THANK YOU