บทบาทหน้าที่สำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล. กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ดําเนินการโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งชาติ ( กทสช.)
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
4C (Class Camp Club CoP) กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
Health Promotion & Environmental Health
รายงานผลการประชุม กรมอนามัยก้าวสู่ DOH 4.0 ได้อย่างไร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ พ.ศ
ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
มาตรการ/กลยุทธ/ขับเคลื่อน กรอบภารกิจงานอนามัยเจริญพันธุ์ กรมอนามัย ประชากร ข้อเสนอเชิงนโยบาย อนามัย เจริญพันธุ์ -จำนวน -คุณภาพ -สุขภาพมารดา -สุขภาพด้านเพศ.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
Cluster วัยเรียน ปีงบประมาณ 2562
(ร่าง) ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสู่ความเป็นเลิศ ในยุค Thailand 4.0.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทหน้าที่สำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4 บทบาทหน้าที่สำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 เพื่อเพิ่มความรู้ด้านสุขภาพของประชาชน โดยนางวิมล โรมา ผู้อำนวยการสำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 เพื่อเพิ่มความรู้ด้านสุขภาพของประชาชน 04/04/60 By Wimon Roma, DoH

ประเด็นการนำเสนอ บทบาทหน้าที่ของสำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 เพื่อเพิ่มความรู้ด้านสุขภาพของประชาชน (สขรส.) กลไกการเชื่อมโยงระหว่างกรมกับหน่วยงาน การขับเคลื่อนการดำเนินงาน 04/04/60 By Wimon Roma, DoH

คำสั่งกรมอนามัยที่ 225/2560 จัดตั้งสำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 เพื่อเพิ่มความรู้ด้านสุขภาพของประชาชน 04/04/60 By Wimon Roma, DoH

04/04/60 By Wimon Roma, DoH

การเชื่อมโยงระหว่างกรมกับหน่วยงาน 04/04/60 By Wimon Roma, DoH

กลยุทธ์ PIRAB ขับเคลื่อน กรมอนามัยสู่คนไทย 4 Partner ชักชวนพันธมิตรทุกภาคส่วน ทุกระดับให้เห็นความสำคัญและร่วมกันทำงานส่งเสริมสุขภาพแบบยั่งยืนโดยเฉพาะ การกำหนดเรื่องสุขภาพเป็นประเด็นสำคัญ ในทุกนโยบายสุขภาพ HiAP Invest กระตุ้นให้เกิดการลงทุนโดยเฉพาะด้านงบประมาณที่เพียงพอจากระดับนโยบายในทุกภาคส่วนเพื่อจัดการกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ Regulate and Legislate ใช้การตรากฎและออกกฎหมาย เพื่อคุ้มครองประชาชนจากความเสี่ยงต่อสุขภาพทุกด้าน Advocate ชี้นำ ชูประเด็น และสนับสนุนให้การเมืองทุกระดับให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพบนพื้นฐานสิทธิมนุษยชนและความเท่าเทียมสร้างการทำงานจากทุกภาคส่วนอย่างมีเอกภาพ Build Capacity พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกภาคส่วนให้สามารถพัฒนานโยบายทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพตลอดจนการวิจัย การกระจายความรู้เพื่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน

04/04/60 By Wimon Roma, DoH

กลไกการเชื่อมระหว่างกรมกับหน่วยงาน National Context สำนัก/ กอง Regional Context ศูนย์อนามัย ระดับบน (National Lead) และระดับพื้นที่ (Regional Lead) เน้นการทำงานแบบบูรณาการทุกภาคส่วน ให้คนในสังคมร่วมกันพัฒนาฐานรากของชุมชน เพื่อให้สามารถบริหารจัดการสุขภาพได้ด้วยตนเอง ลดความเสี่ยง เพิ่มปัจจัยปกป้อง เพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพ สร้างชุมชน ท้องถิ่นและองค์กรรอบรู้สุขภาพ เพื่อให้ประชาชนสามารถกลั่นกรอง ประเมินและตัดสินใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเลือกใช้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม

การขับเคลื่อนการดำเนินงานของหน่วยงาน 6 Cluster กำหนด Key message ตาม Life Course Approach Communication Individual National and Local -Policy Development -Resource Allocation Families and Communities -Engagement -Mobilization 04/04/60 By Wimon Roma, DoH

ROADMAP เป้าประสงค์ 20 ปี ของกรมอนามัยสู่คนไทย 4.0 มุ่งสู่วิสัยทัศน์กรมอนามัย ปี 2579 ทุกกลุ่มวัย รอบรู้สุขภาพ อายุยืนยาวพร้อมสุขภาพยอดเยี่ยม 20 ปี Smart Thai citizens 4.0/ Smart Thai community 4.0 คาดหวังปี 2579 10 ปี HL community/ Independent HL citizens/HL society 5 ปี กรมอนามัยต้นแบบ HLO Generation of HL Communities/ Independent HL citizens 15 ปี Interdependent HLcitizens4.0/ HL society HALE ไม่น้อยกว่า 75 ปี LE ไม่น้อยกว่า 85 ปี Smart Thai Citizens 4.0 Healthy Environment Health literate Society Self Management คนไทยวัยทำงาน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ Health Literate Society ส่งผลให้เกิด Smart Longest Living and Healthiest Citizens Smart Elderly Citizens ผู้สูงอายุไทยหลักชัยของสังคม Health Literate Setting Community เต็มพื้นที่ Education institution Advocate Peer group/Virtual Society/Health Literate Service วัยรุ่นมี life skill & Health skill Health Literate School วัยเรียนเจริญเติบโต แข็งแรง สูงดีสมส่วน คนดีมีวินัย เก่งมีทักษะสุขภาพ แนวคิดในการขับเคลื่อน ความรอบรู้ด้านสุขภาพ เส้นทางชีวิตและสุขภาพ (Timing/Timeline/Environmental Health/Equity) PIRAB Health Literate Quality Services พ่อแม่คุณภาพ ลูกเจริญเติบโตพัฒนาการสมวัย ช่วงที่ 1 (5 ปี) (2560 – 2564) ช่วงที่ 2 (10 ปี) (2565 – 2569) ช่วงที่ 3 (15 ปี) (2570 – 2574) ช่วงที่ 4 (20 ปี) (2575 – 2579) By Wimon Roma, DoH ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ พ.ศ.2560 - 2569 พรบ. การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 พรบ. การสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ 1.อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่3 พ.ศ.2560-2564 2.การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุขแห่งชาติ พ.ศ.2560-2569 04/04/60

เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมาย 5 ปีแรก มุ่งสู่วิสัยทัศน์กรมอนามัยสู่คนไทย 4.0 ปี 2579 ทุกกลุ่มวัย รอบรู้สุขภาพ อายุยืนยาว พร้อมสุขภาพยอดเยี่ยม เป้าหมายที่ 1 Smart Kids เด็กไทยฉลาด มีพัฒนาการสมวัย เป้าหมายที่ 2 Smart Longest Living and Healthiest Citizen ผู้มีอายุยืนยาว พร้อมสุขภาพ ยอดเยี่ยมเป็น หลักชัยให้สังคม เป้าหมายที่ 3 Disruptive Health PPP Model by Health Literacy สร้างโมเดลการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน การส่งเสริมป้องกันและการปกป้องประชาชนด้านสุขภาพแบบใหม่และทันสมัยนำไปสู่การเปลี่ยนกระบวนการคิดของคนที่อยู่ในระบบทั้งหมด เป้าหมายที่ 4 GREEN & CLEAN Hospital ประเด็นปัญหา ขยะติดเชื้อเป็น หัวหอกนำการเปลี่ยนแปลงระบบ 04/04/60 By Wimon Roma, DoH

04/04/60 By Wimon Roma, DoH

04/04/60 By Wimon Roma, DoH

04/04/60 By Wimon Roma, DoH

04/04/60 By Wimon Roma, DoH

04/04/60 By Wimon Roma, DoH