คุณลักษณะของครู กทม. ในศตวรรษที่ 21

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วิธีสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem-based learning:PBL
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ข้อคิดเพื่อประสิทธิภาพการเรียนรู้
Collaborative problem solving
คณะทำงานกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม คณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพทางการจัดการศึกษา เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา และการเปิดเผย.
กลุ่ม สีม่วง. Learn Group  บุคลากรทำงานบนฐานความรู้  องค์กรเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ทั้งระดับประเทศ และ อาเซียน.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
KM Refreshing Course การจัดการความรู้ กรมชลประทาน.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Media Literacy การรู้เท่าทันสื่อ.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
ผู้จัดการเกษตรแปลงใหญ่
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
Strategic Line of Sight
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การคิดเชิงสร้างสรรค์
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
KUSUMA TEPPHARAK (Ph.D.)
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณลักษณะของครู กทม. ในศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะของครู กทม. ในศตวรรษที่ 21

การจัดการศึกษาเพื่อบรรลุความต้องการในศตวรรษที่ 21 การจัดการศึกษาเพื่อบรรลุความต้องการในศตวรรษที่ 21 โรงเรียน ครู ผู้เรียน หลักสูตร

เป้าหมายการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

คุณลักษณะผู้เรียนในยุค Thailand 4.0 Critical Mind / Smart Consumer Creative Thinking Productive Mind / Product-Oriented Responsible Mind (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2559, 12)

ลักษณะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องเปลี่ยนไป 1. สอนให้น้อย เรียนรู้ให้มาก (Teach Less, Learn More) 2. เรียนรู้ด้วยตัวผู้เรียนโดยตรง (Student-directed Learning) 3. ร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน (Collaborative > Competitive) 4. เรียนรู้เป็นทีมมากกว่าเฉพาะคน (Team > Individual Learning) (วิจารณ์ พาณิช, 2554)

Framework for 21st century learning มีความรอบรู้ในวิชาแกน 1) English, Reading or language art 2) World language 3) Arts 4) Mathematics 5) Economics 6) Science 7) Geography 8) History 9) Government and civics 2. มีความรู้ในขอบข่ายของศตวรรษที่ 21 (Themes of 21st century) 1) Global awareness 2) Financial, Economic, Business and entrepreneurial literacy 3) Civic literacy 4) Health literacy 5) Environmental literacy

3. มีทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and innovation) 1) Creativity & innovation 2) Critical thinking & problem solving 3) Communication & collection 4) Collaboration 4. มีทักษะสารสนเทศ สื่อ /เทคโนโลยี (Information media & technology skills) Information technology 2) Media literacy 3) ICT literacy) 5. มีทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and career skill) 1) Flexibility and adaptability 2) Initiative and self-direction 3) Social and cross-cultural skills 4) Productivity & accountability 5) Leadership and responsibility

การเปลี่ยนกระบวนทัศน์การจัดการเรียนในยุคดิจิทัล 1. นักเรียนเปลี่ยนไป สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไป 2. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เป็นผลทำให้รูปแบบการเรียนรู้ของ นักเรียนรุ่นใหม่เปลี่ยนไป มีการจัดการข้อมูลข่าวสารและความรู้ได้มาก ช่วยทำให้เข้าถึงแหล่งความรู้ได้ง่าย และเร็ว 3. รูปแบบและโมเดลการศึกษาเปลี่ยนไป สามารถใช้เทคโนโลยีช่วย ทุ่นแรงในเรื่องการศึกษา ทำให้เรียนรู้ได้เร็ว ได้มาก มีขอบเขตของ ความรู้ที่กว้างขึ้น การศึกษามีต้นทุนที่ต่ำลง รูปแบบของการเรียน การสอนในปัจจุบันจึงต้องเปลี่ยนไป และจะต้องปรับให้ทันกับความ ต้องการของคนรุ่นใหม่

วิสัยทัศน์ของการจัดการศึกษาของ กทม. “นักเรียนกรุงเทพมหานครเป็นพลเมืองที่ดี มีองค์ความรู้ มีทักษะในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ในศตวรรษที่ 21”

ยุทธศาสตร์ของการจัดการศึกษาของ กทม. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและเสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ พัฒนาสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรการศึกษาให้มีความเป็น มืออาชีพ เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนสู่ความเป็นเลิศ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นพลเมืองที่ดี พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อความเป็นเลิศในการจัดการศึกษา เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร

คุณลักษณะของผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ Critical Mind Creative Thinking CCPR Student เน้นผลงาน มีความรับผิดชอบ Productive Mind Responsible Mind

วิธีการเรียนการสอนของ CCPR Model Critically-based Instruction วิเคราะห์ปัญหารายบุคคล แลกเปลี่ยนความเห็น ทบทวนตัวเอง / ประเมิน เป็นตัวของตัวเอง Creativity-based Instruction มองใหม่ / เสนอใหม่ / คิดใหม่ ให้ทางเลือก / เพิ่ม / ลด ต่อยอด / เสริม / เพิ่ม Productive-based Instruction วางเป้าหมายที่ผลงาน แสวงหาวิธีการเพื่อให้ได้งาน ทดสอบ / ประเมินคุณภาพ ปรับเปลี่ยน / สอดส่อง Responsibility-based Instruction ปลูกในทุกระดับ นำตัวเองสู่สาธารณะ / สังคม ดู / ทดสอบ / รูปแบบตัวอย่าง ย้ำ / ซ้ำ / ทวน ความดีงาม

Cooperative Activities บรรยากาศในชั้นเรียน CCPR Model Innovative Ideas ส่งเสริมให้คิดสร้างสรรค์ เน้นให้มีผลผลิต (Product) เน้นกระบวนการเป็นลำดับ Cooperative Activities ครูและผู้เรียนทำงานด้วยกัน มีการวิเคราะห์วิจารณ์เสมอ เน้นการพัฒนาความสามารถแต่ละคน แต่ละกลุ่ม Social Relevance ปลูกฝังจิตสำนึกทางสังคม ทำผลงานโดยไม่หวังผลตอบแทน ดูว่าสังคมเปลี่ยนอย่างไร แก้ไขอย่างไร Quality Oriented เน้นให้เด็กเห็นความสำคัญของคุณภาพ ทุกชิ้นงานต้องตอบในเชิงคุณภาพได้ คุณภาพทั้งผลงานและวิธีการจะสื่อให้ดู

บทบาทของครู กทม. ในศตวรรษที่ 21

บทบาทของครู กทม. ในศตวรรษที่ 21 ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก (facilitator) ครูเป็นผู้เรียนรู้/ผู้ศึกษาร่วม (co-learner/ co-investigator) กล้าศึกษาในสิ่งที่ตนเองไม่ถนัด ให้ความร่วมมือกับครูคนอื่น ครูเป็นผู้แนะแนวทาง (guide) ช่วยให้นักเรียนสามารถสร้างสิ่งที่มีความหมายของตนเอง

E- Teacher: ครูที่พึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21 จากกระแสของโลกาภิวัตน์ที่พยายามที่ จะเชื่อมโลกให้เป็นหนึ่งเดียว ทั้งด้าน ความคิด มุมมอง และการกระทำ ผลกระทบต่อการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม และวิถี ชีวิต จากผลกระทบดังกล่าวครูจำเป็นต้อง พัฒนาทักษะ ICT ให้กับครูให้เป็น E - Teacher

ลักษณะของครู E-Teacher ในยุคศตวรรษที่ 21 1. Experience มีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ 2. Extended มีทักษะการแสวงหาความรู้ 3. Expended สามารถถ่ายทอด/ขยายความรู้ของตนสู่นักเรียนผ่านสื่อเทคโนโลยี 4. Exploration เสาะหาเนื้อหาความรู้หรือเนื้อหาที่ทันสมัยผ่านทางสื่อเทคโนโลยี 5. Evaluation เป็นนักประเมินที่ดี สามารถใช้เทคโนโลยีในการประเมินผล 6. End-User เป็นผู้ที่ใช้เทคโนโลยี (user) อย่างคุ้มค่า และใช้ได้อย่างหลากหลาย 7. Enabler สามารถใช้เทคโนโลยีสร้างบทเรียน 8. Engagement ร่วมมือ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยีจนเกิดชุมชนครูบน web 9. Efficient and Effective ใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

คุณครู 4.0 ครู กทม.4.0 ณ วันนี้ คือผู้ที่ คิดวิเคราะห์ และสร้างสรรค์ แนะแนวทาง ให้ผู้เรียน ได้ก้าวทัน แชร์แบ่งปัน นวัตกรรม ประสบการณ์ ทุกท่านคือ ผู้สรรสร้าง เมล็ดพันธุ์ ให้เด็กทัน ได้ก้าวสู่ โลกยุคใหม่ ด้วยเทคโน สารสนเทศ ที่ก้าวไกล ครูคนไทย ต้องก้าวทัน ความเปลี่ยนแปลง ผมเชื่อมั่น ว่าทุกท่าน รับมือได้ ทำด้วยใจ เพื่อเป้าหมาย การศึกษา เพราะท่านคือ ผู้สร้างเด็ก ด้วยวิชา ให้เก่งกล้า สู่โลกกว้าง ไร้พรหมแดน ความเปลี่ยนแปลง ในโลกยุค 4.0 เราต้องจูน ความนึกคิด ทันสมัย ขอขอบคุณ ครูทุกท่าน ที่ร่วมใจ สู่หลักชัย การศึกษา กทม. .................................

ขอบคุณครับ Thank you