การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
Advertisements

การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ณ 31 พฤษภาคม
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4. 1 ผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ งบประมาณ พ. ศ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
กลุ่มเกษตรกร.
2019/4/15 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการ โครงการเมืองเกษตรสีเขียวในระดับพื้นที่ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 15/04/62.
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
จังหวัด พะเยา การวิเคราะห์ข้อมูล ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง ข้าว
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis) เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จังหวัดนครราชสีมา

การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ STEP 1 Generic Value Chain เกษตร-อุตสาหกรรม เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ยางพารา) กระบวนการผลิต กระบวนการแปรรูป กระบวนการค้าและการตลาด การวิจัยพัฒนา (R&D) – การพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน และการพัฒนาเกษตรกร การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งและ จัดการบริหาร สินค้า (Logistics) การพัฒนา ระบบ การตลาด เกษตรกร ผู้บริโภค จากฟาร์มเกษตรกรไปถึงมือผู้บริโภค (From Farmer to Market) การวิจัยและพัฒนาพันธ์พืช การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม การวิเคราะห์สินค้าและความต้องการของตลาด (Intelligence) การจัดตั้งศูนย์ข้อมูลเชิงลึกเกษตร ก่อนเก็บเกี่ยว (Pre-cultivation) การกระจายเมล็ดพันธ์ที่ดีให้เกษตรกร การบริหารจัดการน้ำ การบริหารจัดการการใช้ดิน (Zoning) การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก ปรับปรุงดิน การรวมกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร ช่วงเพาะปลูก (Cultivation) การผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) การใส่ปุ๋ยและกำจัดศัตรูพืช การเพิ่มผลิตภาพ การเก็บเกี่ยวและขั้น ตอนหลังเก็บเกี่ยว (Harvest & Post) การรับรองมาตรฐานและตรวจสอบความปลอดภัยสินค้า ระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Tracability) มาตรฐานการผลิต เกษตรอุตสาหกรรม(GMP/HACCP) การทำบรรจุภัณฑ์ การทำตราสินค้า (Branding) และตรารับรองคุณภาพ (Quality Mark) ระบบเกษตรปลอดวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) การขนส่งและ กระจายสินค้า การบริหารจัดการคลังสินค้า ระบบห้องเย็น พัฒนาตลาดกลางสินค้า พัฒนาระบบค้าปลีก ค้าส่ง ส่งเสริมการทำตลาดเฉพาะ (Niche Market) และตลาดเฉพาะฤดู (Seasonal Market) สนับสนุนสินเชื่อเพื่อการส่งออก พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market)

นครราชสีมา ข้าวหอมมะลิปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม การวิจัยและพัฒนา(R&D)และโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน วิจัยความต้องการข้าว หอมมะลิปลอดภัยของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดีและทนต่อโรค พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว การพัฒนา ดัดแปลงและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการผลิตข้าวหอมมะลิทั้งกระบวนการ การส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัย สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรมีแผนการผลิต และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม(Crop Zoning and planning) เกษตรกรมีความสามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวปลอดภัยให้เกิดประโยชน์ ส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยทั้งกระบวนการ มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัย โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวหอมมะลิปลอดภัย ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวหอมมะลิปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว ผลผลิตข้าวสารหอมมะลิได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP/ GMP/ HACCP เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวหอมมะลิปลอดภัย การแปรรูปสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น (Value Creation) ส่งเสริมศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยในระดับจังหวัดและระดับกลุ่มจังหวัด การใช้ระบบการขนส่งข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่เหมาะสมมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตั้งแต่แหล่งผลิตไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บสินค้าจนถึงตลาด มีระบบตลาดกลางสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน มีระบบตลาดซื้อขายข้าวหอมมะลิปลอดภัยล่วงหน้า มีการประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว การจัดการข้อมูลการตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางการตลาด มีตราสัญลักษณ์บรรจุภัณฑ์ข้าวหอมมะลิปลอดภัยเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด

และปัจจัยความสำเร็จ (CSFs) ตัวชี้วัด ข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น หน่วย ฐานข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ของข้อมูล ผู้รับผิดชอบ VC4 : การแปรรูป การเพิ่มและสร้างคุณค่า CSF 4.1 โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวปลอดภัย KPI4.1-1 จำนวนโรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์ ที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความพร้อมเข้าสู่มาตรฐาน GMP Data4.1.1 จำนวนโรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์ ที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความพร้อมเข้าสู่มาตรฐาน GMP มี ทะเบียน รายปี ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว/สหกรณ์การเกษตร CSF 4.2 ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน การใช้เครื่อง อบลดความชื้นข้าว เป็นต้น) KPI4.2-1 จำนวนเกษตรกรที่ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การใช้เครื่องอบความชื้นข้าว เป็นต้น) Data4.2.1 จำนวนเกษตรกรที่ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน การใช้เครื่องอบความชื้นข้าว เป็นต้น) ศูนย์ข้าวชุมชน/ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวจังหวัดนครราชสีมา Data4.2.2 ปริมาณข้าวเปลือกข้าวปลอดภัยที่มีการเก็บรักษาให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน KPI4.2-3 จำนวนเกษตรกรและโรงสีที่ได้รับการอบรมและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว Data4.2.3 จำนวนเกษตรกรและโรงสีที่ได้รับการอบรมและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตข้าวปลอดภัย CSF 4.3 ผลผลิตข้าวปลอดภัยได้รับการรับรองคุณภาพข้าวเพื่อการค้าในประเทศ ตามมาตรฐานข้าวปลอดภัย KPI4.3-1 ผลผลิตข้าวปลอดภัยที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานข้าวปลอดภัยเทียบเท่า GAP / GMP/HACCP Data4.3.1 ปริมาณข้าวปลอดภัยที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานข้าวปลอดภัยเทียบเท่า GAP ของจังหวัด หรือในกรณีที่เป็นเงื่อนไขการส่งออกให้ต้องมี มาตรฐาน GAP / GMP/HACCP ศูนย์เมล็ดพันธ์ข้าว/สนง.เกษตรจังหวัดนครราชสีมา CSF 4.4 ใช้เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวปลอดภัย KPI4.4-1 จำนวนชนิดของบรรจุภัณฑ์ข้าวปลอดภัย ขอจังหวัดที่ได้รับการตรวจสอบว่าสามารถรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวปลอดภัย Data4.4.1 จำนวนชนิดของบรรจุภัณฑ์ข้าวปลอดภัยของจังหวัดที่ได้รับการตรวจสอบว่าสามารถรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวปลอดภัย สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด (สกต)

การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวอย่าง จังหวัดนครราชสีมา “ข้าว ปลอดภัย” สรุปประเด็นที่สำคัญต่อยุทธศาสตร์ จาก 32 อำเภอ มีการเพาะปลูกข้าวหอมมะลิกระจายในทุกพื้นที่ทุกอำเภอ พื้นที่ที่ปลูกข้าวมากที่สุด คืออำเภอพิมายและอำเภอโนนสูงซึ่งมีความเหมาะสมกับสภาพดินตามเขตเหมาะสมการเพาะปลูกข้าวของจังหวัดนครราชสีมา

การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จำนวนโรงสีข้าวที่ผ่านมาตรฐาน GMP สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครราชสีมา อำเภอ จำนวน เมือง 1 ปักธงชัย 2 โนนสูง สูงเนิน คง ขามทะเลสอ บัวใหญ่ พิมาย สถานที่เก็บรวบรวมสินค้า (Warehouse) ศูนย์กระจายข้าวปลอดภัย สหกรณ์การเกษตรพิมาย จำกัด สหกรณ์การเกษตรบัวใหญ่ จำกัด สหกรณ์การเกษตรลำพระเพลิง จำกัด สหกรณ์การเกษตรโนนสูง จำกัด สหกรณ์การเกษตรสูงเนิน จำกัด สหกรณ์การเกษตรปักธงชัย จำกัด ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สรุปประเด็นที่สำคัญต่อยุทธศาสตร์ จาก 32 อำเภอ มีอำเภอที่ปลูกข้าวปลอดภัย เพียง 11 อำเภอ โดยมีครัวเรือนที่ปลูกข้าวปลอดภัย เพียงร้อยละ 0.56 ของครัวเรือนเกษตรที่ปลูกข้าวทั้งหมด มีโรงสีข้าวที่ผ่านมาตรฐาน GMP จำนวน 9 แห่ง ศูนย์กระจายสินค้ามีเพียง 2 แห่ง ดังนั้น การที่จะทำให้บรรลุตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 คือเกษตรกรที่ได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP ข้าว ควรมีโครงการเพิ่มโรงสีข้าวของสหกรณ์ที่ผ่าน GMP เพียงพอกระจายตามพื้นที่เพื่อเพิ่มมูลค่าเพิ่มและลดต้นทุนให้เกษตรกร

โครงการสำคัญ / มาตรการ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) ตัวอย่าง จังหวัดนครราชสีมา “ข้าว ปลอดภัย” สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (การวิเคราะห์ข้อมูล Step 2) โครงการสำคัญ / มาตรการ พื้นที่ที่มีการปลูกข้าวจำนวน 11 อำเภอ กระจายอยู่ทั่วทั้งจังหวัด โครงการเพิ่มโรงสีข้าวของสหกรณ์ที่ผ่าน GMP เพียงพอกระจายตามพื้นที่ ผลผลิตข้าว จำนวน 1,067,623 ตัน โรงสีข้าวของสหกรณ์จำนวน 9 โรง กระจายใน 8 อำเภอ มีศูนย์กระจายสินค้า 2 แห่ง STEP 3

เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพื่อให้มีโรงสีสหกรณ์กระจายในทุกพื้นที่ 2. เพื่อลดรายจ่ายในการสีข้าวของเกษตรกร 3. ผลผลิตข้าวที่ออกมาได้มาตรฐาน กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. ส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตร 2. ส่งเสริมให้โรงสีเอกชนเข้าร่วมมาตรฐานการผลิต เกษตรอุตสาหกรรม(GMP/HACCP) ตัวอย่าง จังหวัดนครราชสีมา “ข้าว ปลอดภัย” STEP 4

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เรื่องข้าว