การพัฒนารายการตรวจทางเคมีคลินิกเพื่อติดตามเฝ้าระวังโรคไต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
พัฒนารายการตรวจทางเคมีคลินิกเพื่อติดตามเฝ้าระวังโรคไตในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีในสถาบันบำราศนราดูร บุษกร สันติสุขลาภผล ศิริรัตน์ ลิกานนท์สกุล พจนียา.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
COMPETENCY DICTIONARY
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
SMS News Distribute Service
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนารายการตรวจทางเคมีคลินิกเพื่อติดตามเฝ้าระวังโรคไต ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี บุษกร สันติสุขลาภผล ศิริรัตน์ ลิกานนท์สกุล พจนียา วรรณา นุชชลิตา อาแว รวี นิธิยานนทกิจ วิศิษฎ์ ประสิทธิศิริกุล กลุ่มปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์และอ้างอิงด้านโรคติดเชื้อ สถาบันบำราศนราดูร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข บทนำ ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสบางชนิดเช่นยาทีโนโฟเวียร์ (Tenofovir: TDF) มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคไตได้ นอกเหนือจากปัจจัยของมีความเสี่ยงตัวผู้ป่วยเอง ดังนั้นจึงควรมีระบบการคัดกรอง ติดตามเฝ้าระวังที่ถูกต้องและฉับไวตั้งแต่ต้นเพื่อลดปัญหาและผลกระทบที่ตามมาอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นโรคไตระยะสุดท้าย ซึ่งต้องฟอกไต(Dialysis) และมีค่าใช้จ่ายสูงตลอดจนมีผลกระทบต่อจิตใจ รวมทั้งการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ป่วยเป็นอย่างมาก งานเคมีคลินิกจึงได้ดำเนินการพัฒนาและเพิมรายการตรวจที่สำคัญจำนวน 10 รายการ ตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน เพื่อใช้ในการวินิจฉัย ติดตามเฝ้าระวังโรคไตในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี การดำเนินงานตั้งค่าคำนวณ eGFR ในรายการที่ 1,6,8 และ 9 มีดังนี้ หาสูตรที่ได้มาตรฐาน ตัวอย่างเช่น eGFR (MDRD) = 175 x (Cr)-1.154 x (Age)-0.203x (0.742 if female) x ( 1.212 if African-American) จัดเตรียมข้อมูล ค้นคว้าข้อมูลสูตรที่ตั้งถึงข้อดีข้อเสียของสูตร ร่วมกับปรึกษาแพทย์โรคไตในตั้งสูตรและแปลผล ประสานงานเจ้าหน้าที่สารสนเทศ ทั้งระบบ LIS และ HIS พร้อมอธิบายและให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ในการดำเนินงาน เขียนสูตรโดยจนท.ระบบ LIS และเริ่มทดลองใช้งานในระบบ LIS ทดลองทั้งระบบ LIS และ HIS พิมพ์ผลที่ได้ของ eGFR ในทุกระดับพร้อมปรึกษาแพทย์ สรุปผล และเปิดให้บริการ ดังตัวอย่าง ตามแผนภาพที่ 1 ค่า eGFR (CKD-EPI) การดำเนินงาน เป้าหมาย พัฒนารายการตรวจทางเคมีคลินิกเพื่อวินิจฉัย ติดตามเฝ้าระวังโรคไตในผุ้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีในสถาบันบำราศนราดูร การพัฒนารายการตรวจทางเคมีคลินิก เดิมมีรายการตรวจ creatinine ในเลือดและปัสสาวะ พบว่าเป็นวิธีที่ง่ายและถูก แต่มีข้อจำกัดด้านความไวสำหรับการวินิจฉัยภาวะ mild renal impairment ดังนั้น ตั้งแต่ ปี2552 จนถึงปัจจุบันได้พัฒนาและเพิ่มรายการตรวจที่สำคัญจำนวน 10 รายการมาเป็นลำดับดังนี้ ** รายการที่ 1 ,6,8 และ 9 สามารถทำได้โดยการคำนวณทางคณิตศาสตร์ไม่มีค่าน้ำยาเพิ่ม ปี การพัฒนารายกาตรวจ/งานวิจัย ใช้ในการวินิจฉัย / ประโยชน์ในเปิดตรวจ 2552 1. Calculated eGFR (สุตร Modification of Diet in Renal Disease; MDRD) - เพื่อใช้ประเมินการทำงานของไตและใช้คัดกรองผู้ป่วยที่สมควรส่งต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 2. Urine Protein / Creatinine ratio ( UPCR) - เพื่อใช้วินิจฉัยภาวะ Proteinuria 3. Microalbimin ( Urine albumin / Creatinine ratio , UACR) 2553 4. Fractional excretion of phosphate ( %FeP) เพื่อใช้ประเมินการทำงานของไตในการขับออกและดูดกลับของฟอสฟอรัส 5.Tubular maximum reabsorption of phosphate corrected for GFR ( TmP/GFR) 2554 6. Calculated Thai eGFR - เป็นสูตรที่เหมาะสมในผู้ป่วยไทย ใช้ประเมินการทำงานของไตและใช้คัดกรองผู้ป่วยที่สมควรส่งต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 2555 7. Creatinine ( Enzymatic colorimetric method) - เปลี่ยนหลักการของน้ำยา Creatinine จากหลักการ Jaffe’ s เป็นหลักการ enzymatic เพื่อหลีกเลี่ยงสารรบกวนการตรวจจากหลักการเดิม 2556 8. Calculated eGFR ( The Chronic Kidney disease epidemiology collaboration ; CKD-EPI) ในผู้ใหญ่ - เปลี่ยนสูตร eGFR จากสูตร MDRD และ Thai eGFR เป็นสูตร CKD-EPI ในผู้ใหญ่ และเพิ่มสูตร Schwartz ในเด็กอายุ < 18 ปี ตามคำแนะนำของสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย 9. Calculated eGFR (Schwartz eqution) ในเด็ก 2555-2556 10.ตรวจระดับ Cystatin C ในระดับงานวิจัย - พบว่า Cystatin C เป็น new marker เพื่อบ่งชี้ความผิดปกติของไตในระยะต้นได้รวดเร็ว ผลการพัฒนา eGFR stage 1 2 3 4 5 N 4,649 1,448 207 24 18 ตารางที่ 1 แสดงจำนวนผู้ป่วย ติดเชื้อเอชไอวี(ราย) ทีมีค่า eGFR (CKD-EPI) ในแต่ละระดับ ปี 2557 No. of case 329 ( 77.5%) 278 ( 64.5%) 153 ( 35.5%) 96( 22.5%) แผนภูมิที่ 1 แสดงจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี (ราย) ทีมีค่า FeP%, Tmp/GFR ที่ผิดปกติในปี 2553-2557 ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้แพทย์สามารถวินิจฉัย ติดตามเฝ้าระวังภาวะโรคไตระดับต่างๆของผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพยากรณ์ความรุนแรงของโรคที่จะเกิดภาวะโรคไตเรื้อรังในอนาคต ทำให้วางแผนป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดความเสี่ยงต่อภาวะเหล่านั้นได้ ลดการฟอกไตและประหยัดค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยลงได้อย่างมาก พัฒนามาตรฐานการบริการผู้ป่วยเอชไอวีที่มีประสิทธิภาพทัดเทียมระดับนานาชาติ แนวทางในอนาคต ดำเนินการขยายผลไปในวงกว้าง จัดอบรมถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเทคนิคการแพทย์ในโรงพยาบาลต่างๆที่มีการดูแลรักษาผู้ป่วยเอชไอวี รวมทั้งผลักดันให้เป็นนโยบายในการดูแลรักษาผู้ป่วยเอชไอวีต่อไป