นางสาวสุวรรณ์ สรแสดง วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรบริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
Advertisements

ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การเขียนโครงร่างวิจัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ ของนักศึกษา ปวส. 1 สาขาการบัญชี โดยชุดการสอน ผู้วิจัย นางนพรัตน์ สุวรรณโณ.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป

การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี ติดตามงานแผนกล ยุทธ์ ปี เจ้าภาพ กบส./ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
กลุ่มเกษตรกร.
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนกันยายน 2554
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวสุวรรณ์ สรแสดง วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรบริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง

ชื่อผลงาน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างคณะกรรมการบริษัท และระดับการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อคุณภาพกำไร กรณีศึกษา : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประเภท : งานวิจัยบัณฑิต

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างคณะกรรมการบริษัทกับระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีกับคุณภาพกำไร

- กรอบแนวคิดการวิจัย โครงสร้างคณะกรรมการ (POSMORE) ตัวแปรอิสระ โครงสร้างคณะกรรมการ (POSMORE) ตัวแปรตาม ระดับการกำกับดูแลกิจการ (CG) - H 1 ตัวแปรอิสระ ระดับการกำกับดูแลกิจการ (CG) ตัวแปรตาม คุณภาพกำไร (QE) H 2 +

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ. 2554 - 2555 ซึ่งมีกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งหมดจำนวน 8 กลุ่มประกอบด้วยกลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร กลุ่มสินค้าอุปโภคและบริโภค กลุ่มธุรกิจการเงิน กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง กลุ่มทรัพยากร กลุ่มบริการและกลุ่มเทคโนโลยี รวมทั้งสิ้น 1,057 ปีบริษัท ผู้วิจัยทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณา คือ เป็นบริษัทที่มีรายชื่อจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยระหว่างปี 2554-2555 ทั้งสิ้นจำนวน 713 ปีบริษัท

Variables in the Equation สรุปผลการวิจัย การทดสอบสมมติฐานวิจัยตัวแบบที่ 1 Variables in the Equation Model B S.E. Wald df Sig. Exp(B) Step1(a) POSMOR -2.056 0.650 9.999 1 0.002*** 0.128 SIZE 0.474 0.080 35.257 0.000*** 1.606 INDUS 1 0.790 0.405 3.801 0.051* 2.203 INDUS 2 0.116 0.336 0.119 0.730 1.123 INDUS 3 1.326 0.640 4.290 0.038** 3.767 INDUS 4 0.842 0.418 4.057 0.044** 2.320 INDUS 5 0.401 0.293 1.867 0.172 1.493 INDUS 6 0.084 0.294 0.083 0.774 1.088 INDUS 7 0.371 1.192 0.275 1.499 Constant -8.861 1.794 24.405 0.000

สรุปผลการวิจัย การทดสอบสมมติฐานวิจัยตัวแบบที่ 1 Nagelkerke R Square Chi-square Percentage Predicted Correct CG = 1 : ระดับดีเลิศ ดีมาก ดี CG = 0 : ระดับดีพอใช้ ผ่าน ไม่มี TOTAL .147 11.21(Sig = .190) 76.40% 545 168 713

สรุปผลการวิจัย การทดสอบสมมติฐานวิจัยตัวแบบที่ 2 Coefficients -1.170 model B Std. Error Beta t Sig. 1 (Constant) -1.170 1.768   -0.662 0.508 CG 0.536 0.257 0.079 2.086 0.037** POSMORE -1.386 0.729 -0.071 -1.901 0.058* SIZE 0.087 0.078 0.046 1.117 0.264 DE -0.255 0.089 -0.118 -2.869 0.004*** INDUS 1 -1.016 0.418 -0.105 -2.429 0.015** INDUS 2 0.412 0.407 0.044 1.011 0.312 INDUS 3 -0.439 0.479 -0.038 -0.916 0.360 INDUS 4 0.811 0.425 0.081 1.910 0.057* INDUS 5 0.941 0.337 0.132 2.789 0.005*** INDUS 6 0.603 0.353 0.080 1.710 0.088* INDUS 7 0.154 0.449 0.015 0.344 0.731

สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานวิจัย ผลการทดสอบสมมติฐาน ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 H1 การดำรงตำแหน่งของกรรมการมากกว่า 1 ตำแหน่งมีผลเชิงลบต่อระดับการกำกับดูแลกิจการ ยอมรับ H2 ระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีมีผลเชิงบวกต่อคุณภาพกำไร

อภิปรายผล สัดส่วนการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการมากกว่า 1 ตำแหน่งมีความสัมพันธ์เชิงลบกับระดับการกำกับดูแลกิจการแสดงให้เห็นว่าบริษัทที่มีสัดส่วนการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการมากกว่า 1 ตำแหน่งในจำนวนที่เพิ่มขึ้นจะทำให้ระดับการกำกับดูแลกิจการลดลง ซึ่งสอดคล้องกับธาริณี (2550) พบว่าสัดส่วนกรรมการที่เป็นผู้บริหารและการรวมตำแหน่งระหว่างประธานกับกรรมการผู้จัดการมีความสัมพันธ์ทางลบกับการเปิดเผยการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ระดับการกำกับดูแลกิจการมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพกำไรโดยบริษัทที่มีระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีจะทำให้บริษัทมีกำไรที่มีคุณภาพ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ มัทยา (2552) และ Jiang,Lee Anandarajan (‎2008) พบว่า อันดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพกำไร

ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป จากการศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาเฉพาะบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ซึ่งไม่รวมกลุ่ม MAI ดังนั้นการศึกษาครั้งต่อไปควรจะศึกษาในตลาด MAI เพิ่มเติม

วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรบริหารธุรกิจ ขอบคุณค่ะ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรบริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง