การตรวจสอบ การคัดลอกผลงานทางวิชาการ ด้วยโปรแกรม Turnitin

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีกิตติบริหารธุรกิจ Kitti Business Administration Technological College ชื่อเรื่อง “พฤติกรรมการใช้โปรแกรม Microsoft Office ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
Advertisements

อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
รูปแบบรายงาน.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
วรกร สุพร งานนโยบายและแผน และประกันคุณภาพการศึกษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Plagiarism.
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๑๐ การค้นคว้าหาความรู้ทาง อินเทอร์เน็ต
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ใน Word 5 วิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จากทุกที่
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักเทคนิคการเขียน SAR
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การเขียน บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สรุปผลการปฏิบัติงานประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2559
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบ การคัดลอกผลงานทางวิชาการ ด้วยโปรแกรม Turnitin ศูนย์การเรียนรู้ สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ August 09, 2017

การคัดลอกผลงานทางวิชาการ (Plagiarism) หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่ เหมือนหรือเกือบเหมือนงาน ดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็น งานดั้งเดิมของตนเอง

การคัดลอกผลงานทางวิชาการ (Plagiarism) การลอกเลียนหรือคัดลอกความคิด ถ้อยคำของผู้อื่นและแอบอ้างว่าเป็น ผลงานตนเอง ไม่อ้างอิงแหล่งที่มาของแหล่งข้อมูล ต้นฉบับ

แบบไหนที่เรียกว่า “ลอกเลียน” 1. ไม่อ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูล 1.1 นักเขียนจอมปลอม คือ ผู้ที่เปลี่ยนผลงานวรรณกรรมของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง โดยคัดลอกทุกถ้อยคำเหมือนแหล่งข้อมูลต้นฉบับ 1.2 นักเขียนลอกเลียน คือ ผู้เขียนที่คัดลอกเฉพาะในส่วนสำคัญของผลงานผู้อื่นเพียง แหล่งข้อมูลเดียวโดยไม่มีการแก้ไขถ้อยคำให้แตกต่างจากต้นฉบับ เช่น คัดลอกใน ส่วนบทวิเคราะห์ หรือ บทวิจารณ์วรรณกรรม เป็นต้น 1.3 นักผสมผสาน คือ ผู้เขียนที่คัดลอกข้อมูลจากแหล่งที่แตกต่างกัน จากนั้นจะนำ ประโยคที่คัดลอกจากที่ต่าง ๆ ซึ่งจะมีสำนวนการเขียนที่แตกต่างกันมาปรับแต่งโดย การตัดหรือเติมคำบางคำ เพื่อให้ประโยคมีความเชื่อมโยง แต่ส่วนใหญ่ผู้เขียนยังคงใช้ ถ้อยคำเดิมตามแหล่งข้อมูลต้นฉบับ

แบบไหนที่เรียกว่า “ลอกเลียน” 1. ไม่อ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูล (ต่อ) 1.4 นักปลอมแปลง คือ ผู้เขียนที่คัดลอกส่วนที่เป็นสาระสำคัญของแหล่งข้อมูลต้นฉบ ยับไป แต่ทำให้ผลงานวรรณกรรมของตนเองดูแตกต่างจากต้นฉบับเพียงเล็กน้อย โดยเปลี่ยนแปลงแก้ไขเฉพาะคำสำคัญและวลี 1.5 นักแปลงกาย คือ ผู้เขียนที่จะใช้เวลารวบรวมงานจากหลาย ๆ แหล่ง จากนั้นจะ ใช้วิธีการเขียนขึ้นมาใหม่ด้วยถ้อยคำหรือสำนวนของตนเอง โดยที่ผู้เขียนไม่ได้ สร้างสรรค์งานขึ้นมาใหม่ เพียงแต่ใช้ความสามารถในการเขียนให้กลายเป็นผลงาน ของตนเอง 1.6 การคัดลอกผลงานตนเอง คือ ผู้เขียนที่นำผลงานของตนเองที่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ แล้ว มาปรับเปลี่ยนให้เป็นผลงานชิ้นใหม่อีกครั้ง หรือนำผลงานเก่าของตนมาปรับ เพียงเล็กน้อย

การนำข้อความของผู้อื่นมาใช้ 1. การคัดลอกคำต่อคำ ต้องใส่เครื่องหมายอัญประกาศหรือวงเล็บของคำ ประโยค หรือย่อ หน้าที่นามาใช้ และต้องระบุแหล่งอ้างอิงที่มีชื่อผู้เขียน ชื่อเรื่อง ชื่อหนังสือหรือวารสาร หรือ รายละเอียดที่เกี่ยวข้อง 2. การถอดความ (Paraphrase) เป็นการเขียนขึ้นใหม่โดยคงความหมายของเนื้อหา ตามต้นฉบับ อ้างอิงโดยใช้เชิงอรรถหรือใส่วงเล็บ และต้องระบุแหล่งที่มาให้ครบถ้วนด้วย 3. การสรุป (Summary) เป็นการย่อเนื้อหาของต้นฉบับ ต้องอ้างอิงโดยใช้เชิงอรรถ หรือ ใส่วงเล็บ 4. ข้อเท็จจริง ข้อมูลต่างๆ (Facts, Information, Data) ต้องอ้างอิงแหล่งที่ ได้มาด้วย เว้นแต่เป็นความรู้ทั่วไปหรือความรู้ที่เป็นสาธารณสมบัติ 5. สารสนเทศที่เป็นส่วนเสริม (Supplementary Information) เป็นการใส่ ข้อมูลที่เสริมให้เนื้อหาหลัก ต้องใส่แหล่งอ้างอิงที่สมบูรณ์เช่นกัน อาจเป็นเชิงอรรถหรือ ข้อความท้ายหน้า **ในทุกกรณี ต้องใส่แหล่งอ้างอิงต่อท้ายข้อความที่นำมาใช้ทันที** แต่ถ้าเป็นข้อสรุป หรือการถอดความ ให้ใส่แหล่งอ้างอิงท้ายข้อสรุปหรือข้อความนั้น

ผู้หญิงคนหนึ่ง กินอาหารขยะทุกวัน ผู้หญิงคนหนึ่ง กินอาหารขยะทุกวัน

การใช้โปรแกรม Turnitin

โปรแกรม Turnitin Turnitin อ่านว่า Turn-it-in เป็นฐานข้อมูลออนไลน์ ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบการ คัดลอกผลงานทางวิชาการ ในรูปแบบของสิ่งพิมพ์ออนไลน์ โดย จัดอยู่ในกลุ่มของ Anti-Plagiarism Software ซึ่งศูนย์ การเรียนรู้ได้บอกรับเพื่อให้บริการแก่ อาจารย์ นักศึกษา นักวิจัย และ บุคลากรภายในสถาบัน โดย Turnitin ที่ศูนย์การเรียนรู้ ให้บริการ คือ Originality Check

Originality Check เป็นระบบสำหรับตรวจสอบการ คัดลอกผลงานทางวิชาการ โดยการเปรียบเทียบข้อมูลใน เอกสารแบบคำต่อคำ (Word by word) จาก แหล่งข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งแสดงผลรายงานต้นฉบับ (Originally report) ชี้แหล่งข้อมูล ที่ปรากฏซ้ำเป็น แถบสีและระดับเปอร์เซ็นต์ความซ้ำของทั้งเอกสาร

http://turnitin.com

ที่มา กัญจนา บุณยเกียรติ. (2554). การลักลอกผลงานทางวิชาการและ วรรณกรรม (Plagiarism). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. จิรวัฒน์ พรหมพร. (2556). การผสานความรู้เรื่องการลอกเลียน วรรณกรรมของผู้สอน ร่วมกับรายงานผลการตรวจหาการลอกเลียนของ โปรแกรม Turnitin. วารสารสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 14, 23-29. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2560). โจรกรรมทางวรรณกรรม. สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/โจรกรรมทางวรรณกรรม