การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
Advertisements

ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โดย มณเฑียร ม่วงศรีศักดิ์. เขต สุจริต สพฐ. ใส สะอาด.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
20 ปี ปลูกฝังวิธีคิด สร้างจิตสำนึก 1 เสริมสร้างธรรมาภิบาล
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
หลักสูตรเสริมสร้างเกียรติภูมิข้าราชการ : สำนึกข้าราชการไทยไม่โกง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จังหวัดสมุทรปราการ.
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment) (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ อันดับที่ 69 ของหน่วยราชการ.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การดำเนินงานต่อไป.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

ความเป็นมาและความสำคัญของ ITA พ.ศ. 2552 – 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 ถึงปัจจุบัน สำนักงาน ป.ป.ช. ได้ศึกษาดูงานและลงนาม MOU กับคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตและสิทธิพลเมืองสาธารณรัฐเกาหลี (ACRC) เพื่อพัฒนาโครงการต่อต้านการทุจริตร่วมกัน ซึ่งต่อมา ทำให้เกิดการบูรณาการเครื่องมือการประเมินของสำนักงาน ป.ป.ช. และ ACRC เข้าด้วยกัน ดัชนีวัดความโปร่งใส ของหน่วยงานภาครัฐ (TI) การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) การประเมินคุณธรรม ในการดำเนินงาน (IA) Applying from the Integrity Assessment model from the Anti-Corruption and Civil Rights Commission of Republic of Korea

การประเมิน ITA กับยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 ปัจจุบัน การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐได้ถูกกำหนดเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ในยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก 1. เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต 2. สร้างกลไกการป้องกันเพื่อยับยั้งการทุจริต 8. การพัฒนาระบบและส่งเสริมการดำเนินการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention Against Corruption C.C. 2003 – UNCAC 2003) พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก 3. พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดปัญหาการทุจริต 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้ เชิงสร้างสรรค์ของบุคลากรด้านการป้องกันการทุจริต 4. พัฒนารูปแบบการสื่อสารสาธารณะเชิงสร้างสรรค์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในสังคม 6. สนับสนุนให้ภาคเอกชนดำเนินการตามหลักบรรษัทภิบาล 5. การพัฒนา วิเคราะห์และบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเชื่อมโยงกับแนวทางการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้ การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย

วัตถุประสงค์การประเมิน เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใสใน การดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนาด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะในการจัดทำมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งในระดับนโยบายและในระดับปฏิบัติ

กรอบการประเมิน ITA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ มีกรอบการประเมิน 5 ดัชนี ดังนี้ (1) ดัชนีความโปร่งใส (Transparency Index) (2) ดัชนีความพร้อมรับผิด (Accountability Index) (3) ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน (Corruption – Free Index) (4) ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture Index) (5) ดัชนีคุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity Index)

Integrity and Transparency Assessment: ITA * * เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ Integrity and Transparency Assessment: ITA ความพร้อมรับผิด วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน ความปลอดจากการทุจริต ในการปฏิบัติงาน ความโปร่งใส การให้ เปิดเผย และเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เจตจำนงสุจริต การถูกชี้มูลความผิด การทุจริตต่อหน้าที่ ความปลอดจากการทุจริตเชิงนโยบาย การป้องกันผลประโยชนทับซ้อน การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในหน่วยงาน การสร้างวัฒนธรรมสุจริตในหน่วยงาน มาตรฐานและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน คุณธรรมในการบริหารงาน การดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง การให้ เปิดเผย และเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การจัดการเรื่องร้องเรียน ความพร้อมรับผิดในการปฏิบัติงาน ความพร้อมรับผิดในการบริหารงาน เจตจำนงสุจริตในการบริหารงาน เรื่องชี้มูลความผิด การรับสินบน การใช้ตำแหน่งหน้าที่ในการเอื้อประโยชน์ การสืบทอดวัฒนธรรมสุจริต การไม่ทนต่อการทุจริต การอายและเกรงกลัวที่จะทุจริต การดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงาน แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต การตรวจสอบถ่วงดุลภายในหน่วยงาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน ความเป็นธรรมในการปฏิบัติงาน การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ คุณธรรมในการมอบหมายงาน การบริหารสภาพแวดล้อมในการทำงาน

ที่ครอบคลุมการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภาครัฐในทุกมิติ การประเมินภายในองค์กร การประเมินภายนอกองค์กร แบบสำรวจใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence - Based) แบบสำรวจความคิดเห็นภายใน (Internal) แบบสำรวจความคิดเห็นภายนอก (External) การประเมิน ในเชิงบวก

กระบวนงานตามภารกิจ (Process) หลักการประเมิน ITA INPUT OUTPUT ปัจจัยนำเข้า ผลผลิต กระบวนงานตามภารกิจ (Process) Evidence – Based (หลักฐานระบบงาน) External Perception (ผู้มีส่วนได้เสียภายนอก) Internal Perception (ผู้มีส่วนได้เสียภายใน) ITA Score นำผลคะแนนITA ไปปรับปรุงพัฒนาจุดบกพร่อง

เกณฑ์ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เกณฑ์การประเมินผล ค่าคะแนนของผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ มีค่าคะแนนระหว่าง 0 – 100 คะแนน โดยเกณฑ์การให้คะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ แบ่งเป็น 5 ระดับ ช่วงคะแนน (คะแนน) เกณฑ์ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ 80 – 100 สูงมาก 60 – 79.99 สูง 40 – 59.99 ปานกลาง 20 – 39.99 ต่ำ 0 – 19.99 ต่ำมาก

การดำเนินงานของ สพท.เพื่อเตรียมรับการประเมิน ๑.จัดส่งรายชื่อผู้ประสานงาน ITA ของแต่ละ สพท. จำนวน ๒ คน ให้กับ สพฐ. ๒.จัดเตรียมรายชื่อ Internal จำนวนบุคลากรทั้งหมดของเขต และ External จำนวนไม้น้อยกว่า ๕๐ รายชื่อ ๓.ผู้บริหารหน่วยงานแสดงเจตจำนงสุจริตในการบริหารงานภายในหน่วยงานและประกาศให้สาธารณชนทราบ ๔.จัดเตรียมเอกสารหลักฐานตามแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence-based

บทบาทในการประเมิน ITA ของ ผู้บริหาร และ เจ้าหน้าที่ และ ผู้ประสานงาน เป็นอย่างไร ?

บทบาทของผู้เกี่ยวข้องในหน่วยงาน มีเจตจำนงยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต เป็นตัวแบบที่ดี (Role Model) และส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมสุจริตในองค์กร 1 บทบาทของ ผู้บริหาร มีนโยบายสนับสนุนด้านการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานอย่างจริงจัง กำชับให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามนโยบาย จริยธรรม จรรยาบรรณ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับการทุจริตอย่างเคร่งครัด 2 แปลงแนวทางการประเมินไปสู่การพัฒนาระบบงานต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม 3 ให้ความร่วมมือในการประเมิน และสื่อสารให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ทุกระดับได้รับทราบและให้ความร่วมมือ 4

บทบาทของผู้เกี่ยวข้องในหน่วยงาน ปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบาย จรรยาบรรณ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ประกาศ คำสั่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตอย่างเคร่งคัด 1 บทบาทของ เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่และให้บริการประชาชนอย่างสุจริต โปร่งใส เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ 2 หากพบเห็นการกระทำทุจริต อย่า !!! นิ่งเฉย ต้องแจ้งผู้รับผิดชอบ 3 ตอบแบบสำรวจ Internal ตามการรับรู้ของตนเองอย่าง ไม่มีอคติ 4

บทบาทของผู้เกี่ยวข้องในหน่วยงาน ศึกษาหลักการและเนื้อหาการประเมิน ITA ให้มีความเข้าใจและนำถ่ายทอดให้ผู้รับผิดชอบได้รับทราบ 1 ประสานกำหนดการต่างๆ กับผู้ประเมิน และดำเนินการตามกรอบระยะเวลา บทบาทของ ผู้ประสานงาน 2 จัดเตรียมและส่งข้อมูลในการประเมิน เช่น รายชื่อกลุ่มตัวอย่าง เป็นต้น 3 ตอบแบบสำรวจ Evidence โดยรวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบตามเกณฑ์การประเมิน 4

ผ่านการเข้าร่วมการประเมิน ITA ทุกท่าน ล้วนเป็นส่วนหนึ่ง ในการป้องกันการทุจริต ของประเทศ ผ่านการเข้าร่วมการประเมิน ITA