ระบบคุ้มครองผู้บริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และเภสัชสาธารณสุข
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP)
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โครงการพัฒนาการศึกษา จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2559 สำนักงาน กศน. จังหวัดสงขลา รับผิดชอบ จำนวน 4 โครงการ ประกอบด้วย.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นพ.มรุต จิรเศรษฐสิริ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 10.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 รอบที่ 2
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ประชุมงาน คบส.อำเภอ ปี พฤศจิกายน 2559 ภญ.สุธิดา บุญยศ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบคุ้มครองผู้บริโภค PP Excellence ระบบคุ้มครองผู้บริโภค KPIกระทรวง(22+27) PA ปลัดฯ( 9+10) PA เขตฯ(9+10) PA อำเภอ ปี60 ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปลายน้ำ กลางน้ำ ต้นน้ำ เป้าหมาย อย. : ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ปลอดภัย PA1: ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูป มีความปลอดภัย (ร้อยละ 80) PA2: ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบ ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 95) บท บาท บริหารจัดการระบบ ระบบข้อมูล การเฝ้าระวัง (Surveillance) การจัดการความเสี่ยง (Inspection and Response) จัง หวัด/อำ เภอ -มีคณะ ทำงาน -ทีมปฏิบัติการ -คู่มือฯ -มีแผนฯ -มีการติดตาม มีระบบข้อมูลสำคัญ จัดเก็บและรายงาน -แผนเฝ้าระวัง -ขับเคลื่อน/ดำเนินการตามแผน -ถ่ายทอดกำกับติดตาม -นำผลการตรวจเฝ้าระวังมาดำเนินการตามแผนการจัดการความเสี่ยง(Risk Management )แบบบูรณาการ - ดำเนินการตามกฎหมาย -สื่อสารความเสี่ยงไปยังผู้เกี่ยวข้อง/เพื่อจัดการปัญหา -ถ่ายทอดกำกับติดตาม การดำเนินงานตามแผนฯ มาตรการบูรณาการ 5 ระบบ ระบบคุ้มครองผู้บริโภค (กลุ่มงาน คบ./กลุ่มงาน อสล.)

มาตรการบูรณาการ ประเด็น ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ PP Excellence แผนงานที่ 3 ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานอาหารปลอดภัยและการจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพของอำเภอ สถานการณ์และสภาพปัญหา 1.ระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคอำเภอ *ระดับความสำเร็จการจัดระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคของหน่วยงานระดับอำเภอมีค่าเฉลี่ยที่ระดับ <3.5 2.ผลวิเคราะห์คุณภาพอาหารและผลิตภัณฑ์อาหาร *ผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร <ร้อยละ80 (ไม่ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย) จำนวนสถานที่ผลิต(GMP) ทั้งหมด 192 แห่ง *ผลการตรวจสารปนเปื้อนในผักสดพบสารเคมีกำจัดศัตรูพืชไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 3.86 ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นจากปี2557(ร้อยละ3.30) ปี2558 (ร้อยละ 3.64) แผนงาน/โครงการ การตรวจเฝ้าระวัง/วิเคราะห์คุณภาพ 1.โครงการอาหารปลอดภัย(ผักผลไม้สด/เนื้อสัตว์) 2.โครงการตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการผลิตอาหารให้ได้มาตรฐาน การพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค 3.โครงการพัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (สำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่คบ.ระดับจังหวัด-อำเภอ) มาตรการ/Key Activity คน การพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานในระบบคุ้มครองผู้บริโภค ข้อมูล การสำรวจ/จัดทำฐานข้อมูลและสรุปข้อมูลสำคัญในการดำเนินงานที่เป็นปัจจุบัน แผน ดำเนินงานอาหารปลอดภัย /แผนงานตรวจเฝ้าระวังและจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ลงมือดำเนินการตามแผน/จัดการความเสี่ยงและสื่อสารความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ การติดตามและประเมินผล (M&E) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.คณะกรรมการ/คณะทำงาน 2.สำรวจ/จัดทำสรุปข้อมูล 3.แผนปฏิบัติการอาหาร/คบ. 1.ดำเนินการตามแผน(40%) 2.มีหลักเกณฑ์/แผนจัดการความเสี่ยง 3.บันทึก/ส่งรายงาน 1.ดำเนินการตามแผน(65-100%) 2.สรุปสถานการณ์/ผลการจัดการ/สื่อสารความเสี่ยง 3.บันทึกรง.และส่งรายงานจังหวัด 1. จัดทำสรุปผลงาน/การจัดการความเสี่ยง 2.บันทึกรายงานและส่งรายงานจังหวัด

โครงการ1:อาหารปลอดภัย(ผักผลไม้และเนื้อสัตว์สด ) วัตถุประสงค์ การตรวจเฝ้าระวังเพื่อ 1.ลดปัญหาการปลอมปนสารเร่งเนื้อแดง ในเนื้อสัตว์สด 2.ลดปัญหาผักผลไม้สดปนเปื้อนสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ผลผลิต ผัก ผลไม้สดและเนื้อสัตว์สด มีความปลอดภัย ในการบริโภค ผู้จำหน่ายได้รับการตรวจสอบ/รับรองความปลอดภัยของอาหารที่นำมาจำหน่าย กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลา/งบประมาณ 1.ประชุมคณะกรรมการอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด2.การตรวจเฝ้าระวังโดย MobileUnit 3.การพัฒนาทักษะการใช้ชุดทดสอบของเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ 4.การมอบป้าย Food Safety ระยะเวลา : พฤศจิกายน 59 – เมษายน 60 แหล่งงบประมาณ : งบ สสจ. และงบ CUP วิธีการประเมินผล จากรายงานผลการดำเนินการโครงการ

โครงการ 2: ตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการผลิตอาหารให้ได้มาตรฐาน วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร ณ สถานที่ผลิต และพัฒนาแนวทางการตรวจสถานที่ผลิตให้ถูกต้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน ผลผลิต สถานที่ผลิตอาหารได้รับการตรวจสอบและ ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน GMP ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตมีคุณภาพตามเกณฑ์ ที่กำหนด กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลา/งบประมาณ 1.ประชุมพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พรบ.อาหาร 22-23 พย.59 2.การตรวจสถานที่ผลิตอาหารหลังอนุญาตทุกอำเภอ 3.เก็บตัวอย่างอาหาร ณ สถานที่ผลิต ส่งตรวจวิเคราะห์คุณภาพ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 4.แจ้งผลตรวจวิเคราะห์/ดำเนินการตามกฎหมาย ระยะเวลา : พฤศจิกายน 59 – กรกฎาคม 60 แหล่งงบประมาณ : งบ สสจ. และงบ อย. วิธีการประเมินผล สรุปรายงานผลการตรวจสถานที่ผลิตและ รายงานผลการตรวจวิเคราะห์

โครงการ3 :พัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค ให้มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการ ความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผลผลิต 1. ทีมจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2. แผนจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ระดับอำเภอ กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลา/งบประมาณ ผู้ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค/พนักงานเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด-อำเภอ ระยะเวลา : มกราคม – กุมภาพันธ์ 2560 แหล่งงบประมาณ : งบ สสจ. วิธีการประเมินผล แบบสอบถามผู้เข้าร่วมโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

แหล่งข้อมูล www.fda.moph.go.th www.surinpho.go.th กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ http://fda.surinpho.go.th ผู้ประสานงานตัวชี้วัด 1.ภญ.สุธิดา บุญยศ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข โทรศัพท์สำนักงาน : 044-518402 ต่อ 219 E-mail : suthida0327@gmail.com 2.นางอรวิชญ์ พาริหาญ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและ อาชีวอนามัย โทร. 0 4451 8402-5 ต่อ 117 โทรสาร 0 4452 0645 Email : surin03@gmail.com