บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
หลักการแปลผล สรุปผล.
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การเขียนโครงร่างวิจัย
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การวัด Measurement.
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยและสัดส่วน
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์และการแปลผล
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การวิเคราะห์แปลผลข้อมูล
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
Multistage Cluster Sampling
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบ และแบบสอบถามข้อสอบ โดยใช้ SPSS
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
สถิติเพื่อการวิจัยทางการเกษตร STATISTICS FOR AGRICULTURAL RESEARCH
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Chapter 9: Chi-Square Test
Chapter 7: Hypothesis Testing
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ศาสนาเชน Jainism.
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
Control Chart for Attributes
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สถิติเพื่อการวิจัย อัญชลี จันทาโภ.
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
การทดสอบที่ไม่ใช้พาราเมตริก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง วิทยาลัยการศึกษา วิทยาลัยกรศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

เนื้อหาในบทเรียน ความหมายของสถิติเชิงอ้างอิง ประเภทของสถิติเชิงอ้างอิง การทดสอบสมมุติฐานทางสถิติ ความคลาดเคลื่อนในการตัดสินใจ ระดับความมีนัยสำคัญ ระดับความเชื่อมั่น ระดับความเป็นอิสระ บริเวณวิกฤต ประเภทของการทดสอบสมมติฐาน ขั้นตอนการทดสอบสมมุติฐาน การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ความแปรปรวน การทดสอบเกี่ยวกับสัดส่วน การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร

ความหมายของสถิติเชิงอ้างอิงหรือสถิติอนุมาน สถิติที่ใช้วิเคราะหข้อมูลที่ศึกษาได้จากกลุ่มตัวอย่าง แล้วอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อสรุปผลไปยังกลุ่มประชากร หรือการศึกษาค่าสถิติ (statistic) เพื่ออ้างอิงไปยังค่าพารามิเตอร์ (parameter) หากกลุ่มตัวอย่างมีความเป็นตัวแทนที่ดีแล้ว ค่าสถิติที่ศึกษาจาก กลุ่มตัวอย่างน่าจะเท่ากับค่าพารามิเตอร์ของประชากร การใช้สถิติอ้างอิงทำได้ 2 ลักษณะคือ การประมาณ (estimation) ค่าประชากรหรือค่าพารามิเตอร์ และการทดสอบสมมติฐาน (hypothesis testing)

ประเภทของสถิติเชิงอ้างอิง 1. สถิติพาราเมตริก (Parametric statistics ) คำนึงถึงการแจกแจงของประชากรที่กลุ่มตัวอย่างถูกสุ่มมา มีการแจกแจงแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่พอ (n  30) มีการวัดอยู่ในมาตราอันตรภาคหรือมาตราอัตราส่วน 2. สถิตินันพาราเมตริก (Non parametric statistics ) ไม่คำนึงถึงลักษณะการแจกแจงของประชากรว่าเป็นแบบใด กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก (n < 30) มีการวัดอยู่ในมาตรานามบัญญัติหรือมาตราเรียงลำดับ

การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ (hypothesis testing) กระบวนการที่นำไปสู่การสรุปตัดสินใจว่าสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ เกี่ยวกับประชาชนนั้นถูกต้องเป็นจริงหรือไม่ การทดสอบเริ่มจากการตั้งสมมติฐานการวิจัยแล้วแปลงไปเป็นสมมติฐานทางสถิติ และใช้เทคนิคทางสถิติแบบใดแบบหนึ่งมาทดสอบ อาศัยหลักฐานหรือข้อมูลเท่าที่มีจากกลุ่มตัวอย่างมาใช้ในการตัดสินใจ ที่จะยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งขึ้น เพื่อสรุปอ้างอิง (generalization) ไปยังประชากร

ความคลาดเคลื่อนในการตัดสินใจ การตัดสินใจหลังการทดสอบ H0 สถานการณ์ที่ถูกต้องของ H0 H0 เป็นจริง H0 เป็นเท็จ ยอมรับ H0 ตัดสินใจถูกต้อง หรือ ขอบเขตความเชื่อมั่น (1 – α) เกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2 (β) ปฏิเสธ H0 เกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 (α หรือระดับนัยสำคัญ) อำนาจของการทดสอบ (1 – β)

ระดับความมีนัยสำคัญ (Level of significance) ความน่าจะเป็นที่ผู้วิจัยมีโอกาสสรุปผลการวิจัยคลาดเคลื่อน ในลักษณะของความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 คือ ปฏิเสธ H0 ทั้งที่ H0 ถูกต้อง แทนด้วยสัญลักษณ์ α เช่น α = .05 หมายความว่า ในการทดสอบ ผู้วิจัยยอมเสี่ยงให้เกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ได้ 5 ครั้งใน 100 ครั้ง และเป็นความคลาดเคลื่อน ที่เกิดขึ้น โดยบังเอิญเท่านั้น หรือกล่าวได้ว่า ถ้ามีการทดสอบสมมติฐานซ้ำ 100 ครั้ง โอกาสที่จะสรุปผิด ในลักษณะที่จะปฏิเสธ H0 ทั้งที่ H0 ถูกต้อง มีอยู่เพียง 5 ครั้ง โอกาสที่จะสรุปผลได้ถูกต้องมีถึง 95 ครั้ง จาก 100 ครั้ง หากมองในแง่ระดับความเชื่อมั่น (level of confidence) กล่าวได้ว่าผลการวิจัยที่ได้นั้นมีความเชื่อมั่นได้ 95%

ระดับความเชื่อมั่น (Level of confidence) ความน่าจะเป็นในการยอมรับสมมติฐานศูนย์ที่ถูก (1- ) หรือเรียก สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น (confidence coefficient) เช่น  = .01 ระดับความเชื่อมั่นเท่ากับ .99 หรือ 99%

ระดับความเป็นอิสระ (Degree of freedom) จำนวนหรือค่าที่แสดงถึงระดับความเป็นอิสระของการผันแปรได้ตาม เกณฑ์ใดกฏเกณฑ์หนึ่ง จากการแจกแจงภายใต้โอกาสความน่าจะเป็นของแต่ละครั้งที่มีการสุ่มตัวอย่างขึ้นมาศึกษา ลักษณะของผลการแจกแจงจะผูกพันกับจำนวนกลุ่มตัวอย่าง หรือข้อมูลที่สุ่มได้ หรือบางลักษณะขึ้นอยู่กับจำนวนรูปแบบของการจัดประเภทของข้อมูล

บริเวณวิกฤต (Critical region) หรือ เขตปฏิเสธ (reject region) ขอบเขตที่กำหนดตามระดับนัยสำคัญ ถ้าค่าสถิติที่คำนวณได้ตกอยู่ในขอบเขตนี้ จะถือว่าการทดสอบมีนัยสำคัญ (significance) นั่นคือ ความแตกต่างระหว่างคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างกับประชากร มีมากเกินขอบเขตที่กำหนดไว้ จึงถือว่าเป็นความแตกต่างที่แท้จริงและไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ

ประเภทของการทดสอบสมมติฐาน 1. การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว (One tailed test) : ทางซ้าย

1. การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว (One tailed test) : ทางขวา

2. การทดสอบสมมติฐานแบบสองทาง (Two tailed test)

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 1. กำหนดสมมติฐานโดยใช้สถิติโดยแปลงมาจากสมมติฐานการวิจัย ทั้งสมมติฐานที่เป็นกลาง (H0) และสมมติฐานที่เป็นทางเลือก (H1) 2. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ (α) 3. กำหนดสถิติที่จะใช้ในการทดสอบ 4. หาค่าวิกฤต (critical value) 5. คำนวณค่าสถิติ เพื่อนำผลที่ได้มาเปรียบเทียบกับค่าวิกฤตแล้วจึงตัดสินใจเกี่ยวกับการทดสอบ

ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 6. สรุปผลการทดสอบ เพื่ออ้างอิงไปยังประชากร ถ้าค่าสถิติที่คำนวณได้ตกอยู่ในเขตวิกฤติ หรือเขตปฏิเสธ H0 ก็จะปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 ถ้าค่าสถิติที่คำนวณได้ตกอยู่นอกเขตวิกฤติหรือยอมรับ H0 ก็จะสรุปได้ว่ายอมรับ H0

การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ย การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากร แบ่งเป็น 3 กรณี 1.การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มเดียว 2.การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม 3.การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม

1. การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มเดียว ทราบ 2 ของประชากร ไม่ทราบ 2 ของประชากร ไม่ทราบ 2 ของประชากร n  30 n  30 n < 30 สถิติ Z–test สถิติ Z–test สถิติ t–test

2. การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม 2.1 ข้อมูล 2 ชุดมีความเป็นอิสระต่อกัน (independent samples) แจกแจงเป็นโค้งปกติ ไม่ทราบการแจกแจง ไม่ทราบการแจกแจง ทราบ 12 และ 22 ทราบ 12 และ 22 ไม่ทราบ 12 และ 22 สถิติ Z–test n1  30 และ n2  30 สถิติ Z–test สถิติ Z–test

2. การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม 2.1 ข้อมูล 2 ชุดมีความเป็นอิสระต่อกัน (independent samples) แจกแจงเป็นโค้งปกติ แจกแจงเป็นโค้งปกติ ไม่ทราบ 12 และ 22 ไม่ทราบ 12 และ 22 12 = 22 12 ≠ 22 n1 และ n2 < 30 n1 และ n2 < 30 สถิติ t–test สถิติ t–test

2.2 ข้อมูล 2 ชุดไม่มีความเป็นอิสระต่อกัน (dependent samples) , 2.2 ข้อมูล 2 ชุดไม่มีความเป็นอิสระต่อกัน (dependent samples)

การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance : ANOVA) ทดสอบเกี่ยวกับความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของประชากรที่มากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป โดยทดสอบหลายกลุ่มไปพร้อม ๆ กันครั้งเดียวซึ่งจะให้ผลดีกว่าและถูกต้องกว่าการทดสอบโดย เปรียบเทียบเป็นคู่ ๆ หลายครั้ง ใช้การทดสอบค่าเอฟ (F-test) คือ เพื่อทดสอบความแปรปรวน 2 ตัว คือ ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม (between-group variance) กับความแปรปรวนภายในกลุ่ม (within-group variance) ว่าแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด เป็นกี่เท่าของกัน

การทดสอบเกี่ยวกับสัดส่วน กลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม

การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร

Thank You!