วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การกำหนดตำแหน่งการพัฒนาของอำเภอ (Positioning)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
1 สบช.. 2 เอกสารข้อมูล สถานการณ์ / ผลการ ดำเนินงานสบช. - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสบช. - GAP ( อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต ) ความคิดเห็นผู้บริหาร.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 2.1 การจัดการเชิงกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ ภายหลังเรียนได้เรียนรู้ 1.อธิบายการบริหารองค์การพยาบาลการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ วิเคราะห์กลยุทธ์ SWOT analysis ขององค์การ 2. สามารถวางแผนการบริหารแบบธรรมาภิบาล 3.สามารถวิเคราะห์การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ได้

วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 2.1 การจัดการเชิงกลยุทธ์ -การวิเคราะห์กลยุทธ์ - SWOT analysis

บทที่ 2 การบริหารองค์การพยาบาล บทที่ 2 การบริหารองค์การพยาบาล ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 การจัดการเชิงกลยุทธ์ strategyแผนการปฏิบัติซึ่งวางเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์จำเพาะ way 

บทที่ 2 การบริหารองค์การพยาบาล บทที่ 2 การบริหารองค์การพยาบาล ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ SWOT Analysis คือ การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม (อุปสรรค) ในกรอบระยะเวลาที่ต้องการ ทั้งนี้เพื่อประกอบการวางแผนการในการใช้วิธีการ และทรัพยากร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด SWOT คือตัวย่อจุดแข็ง (Strength : S) , จุดอ่อน (Weakness : W) , โอกาส (Opportunity : O), แรงกดดัน (Threat : T)

วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556

วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

ารการบ้าน วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ ารการบ้าน วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556

ขั้นตอนวิเคราะห์ด้วยเทคนิค SWOT มีอยู่ 5 ขั้นตอน คือ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 1.   การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน เช่น ด้าน ทรัพยากร ด้านโครงสร้าง ศักยภาพในหน่วยงาน สภาพแวดล้อมภาพนอก เช่น ด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ซึ่งมีผลกระทบต่อหน่วยงาน 2. กำหนดวิสัยทัศน์ (vision) คือ มองไปให้ไกล กว้างให้ ครบทุกปัจจัยสามารถคิดการณ์ไกลสู่โลกอนาคตได้

3. กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์และวางแผนพัฒนา หน่วยงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ด้วยเทคนิค SWOT มีอยู่ 5 ขั้นตอน คือ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556 3. กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์และวางแผนพัฒนา หน่วยงาน 4. การวางแผนยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหา 5. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจร่วมกันทุกระดับ เพื่อ รองรับสถานการณ์    

การพัฒนาการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ( Strategic management) ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 ความหมายแนวคิดการบริหารงานที่เน้นการวางแผนที่ สามารถวัดผลผลิตได้และเป็นการวางแผนที่คำนึงถึง บริบทขององค์กรทั้งภายในและภายนอกขององค์กรเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้องค์กรก้าวทันต่อ การเปลี่ยนแปลง (พูลสุข หิงคานนท์, 2549)   

กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์มีอยู่ 6 ขั้นตอน คือ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556 1.การวิเคราะห์ศักยภาพและความพร้อมขององค์กร โดยพิจารณาจุดอ่อน จุดแข็งขององค์กร โอกาสในการพัฒนาและภัยคุกคาม 2. วางทิศทางขององค์กรโดยการกำหนดวิสัยทัศน์ คุณค่าและ พันธกิจ-จุดมุ่งหมายและเหตุผล 3. การกำหนดเป้าหมายขององค์กรและตัวชี้วัดผลลัพธ์ เช่น คุณภาพชีวิตและภาวะสุขภาพของประชาชนผู้รับบริการ

กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์มีอยู่ 6 ขั้นตอน คือ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556 4. การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร กำหนดแผนงานหรือโครงการปฏิบัติได้ จริงในองค์กร ระบุระยะเวลาที่ต้องการให้กระทำงานนั้นให้เสร็จสมบูรณ์ ได้แก่ แผนกลยุทธ์ 5. นำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติคำนึงถึงโครงสร้างและวัฒนธรรม องค์กร 6. สร้างกลไกการกำกับ ติดตามประเมินผลควรดำเนินการทั้งใน ระยะสั้นและประจำปี

วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

ตัวอย่างแผนกลยุทธ์ รพ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 2549)   

การพัฒนาการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ( Strategic management) ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 ความหมายแนวคิดการบริหารงานที่เน้นการวางแผนที่ สามารถวัดผลผลิตได้และเป็นการวางแผนที่คำนึงถึง บริบทขององค์กรทั้งภายในและภายนอกขององค์กรเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้องค์กรก้าวทันต่อ การเปลี่ยนแปลง (พูลสุข หิงคานนท์, 2549)   

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณภาพ ตัวอย่างแผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม ตามมาตรฐานสากลโดยบูรณาการการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย เพื่อสร้างนวัตกรรมและพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย(ปี) งบ ประมาณ ส่วนงานที่รับผิดชอบ ผู้ควบคุม/กำกับ ผู้รับผิด ชอบ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม   55 56 57 58 59 1.ร้อยละของนักศึกษาสามารถสอบขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพได้ในการสอบครั้งแรก(เฉลี่ยย้อนหลัง3ปี)(สภาฯ) ร้อยละ 50 60 65 70 ฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ พัฒนาบัณฑิตที่มุ่งส่งเสริมคุณภาพและคุณธรรม 2.ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร (เฉลี่ยย้อนหลัง3ปีการศึกษา) 90 92 94 96 98 3.ร้อยละของการมีงานทำและศึกษาต่อของบัณฑิตที่สำเร็จใหม่(ย้อนหลัง3ปีการศึกษา)(สภาฯ) 100 4.ร้อยละของบัณฑิตที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณภาพและคุณธรรม รองฝ่ายวิชาการ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557   

องค์ประกอบ Competency ในปัจจุบันแบบ K-S-A สะสมผ่านการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า K: Knowledge ความรู้ สะสมผ่านการฝึกฝน การปฏิบัติซ้ำแล้วซ้ำอีก สะสมผ่านการหล่อหลอมกล่อมเกลา จนเคยชินเป็นนิสัย S: Skill ทักษะ A: Attribute คุณสมบัติอื่นๆ

ประเภทของ competency Functional/Technical Competency 3 ส่วนนี้ รวมเรียกว่า Non-Core Competency Core Competency Individual/Job Competency Leadership/Managerial Competency องค์กรเดียวกันใช้ Competency เหมือนกัน แต่ละหน่วยงานจะมี Competency ตามลักษณะงานแต่ละตำแหน่ง

กรอบแนวคิด (Frameworks) การพัฒนา Competency วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยม Core Competency กลยุทธ์การดำเนินภารกิจ Competency Model กลุ่มหน้าที่/ตำแหน่งงาน Non-core Competency 20

ประเภทของ Competency (ต่อ) สมรรถนะหลัก (Core Competency) – สะท้อนค่านิยมหลักที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานของทุกคนในองค์กร เป็นสิ่งที่องค์กรคาดหวังให้ทุกตำแหน่งมีร่วมกัน สมรรถนะตามกลุ่มหน้าที่ (Function Competency) - กลุ่ม competency ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะของกลุ่มงาน หรือฝ่ายงาน (job family) ที่ทุกคนในกลุ่มงานนั้นต้องมีร่วมกัน สมรรถนะประจำตำแหน่งงาน (Job/Individual Competency) - competency ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะของตำแหน่งหนึ่งๆ ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามบทบาท หน้าที่ ภารกิจ และความรับผิดชอบ สมรรถนะทางการจัดการ (Managerial Competency) – กลุ่ม competency ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะด้านการบริหารจัดการและความเป็นผู้นำ โดยองค์กรคาดหวังให้ผู้อยู่ในฐานะผู้บังคับบัญชาต้องมี

ระบบสมรรถนะและการนำไปใช้ Competency Catalogue: ชุดรายการสมรรถนะ การถ่ายทอด และนำไปประยุกต์ปฏิบัติ Competency Model: ตัวแบบสมรรถนะ Competency Dictionary: พจนานุกรมสมรรถนะ Competency Mapping: จัดระบบสมรรถนะ

พจนานุกรมสมรรถนะ: Competency Dictionary คำจำกัดความ (Definition) คือ ความหมายของ Competency แต่ละตัวที่องค์กรกำหนดขึ้นเพื่อความเข้าใจที่ตรงกันของสมาชิกในองค์กร ระดับความสามารถ (Proficiency Level) คือ ระดับความยากง่ายของ Competency แต่ละตัว โดยทั่วไปจะกำหนดไว้ประมาณ 5 ระดับ ตัวชี้วัดด้านพฤติกรรม (Behavioral Indicator) คือ ตัวชี้วัดเกี่ยวกับพฤติกรรมการทำงานซึ่งเป็นเกณฑ์ที่องค์กรใช้ในการวัด Competency นั้นๆ ของพนักงานแต่ละคน 23

รูปแบบของ Competency Dictionary ระดับ ลักษณะพฤติกรรม และตัวชี้วัดพฤติกรรม 1 พนักงาน ขั้นเรียนรู้ ความเข้าใจ 2 หัวหน้างาน ขั้นปฏิบัติ แสดงออก 3 ผู้จัดการ ขั้นชำนาญการ ช่วยเหลือผู้อื่น 4 ผู้อำนวยการ ขั้นกระตุ้นจูงใจ กระตุ้นผลักดัน 5 CEO ขั้นกลยุทธ์ สร้างความสามารถ

ตัวอย่างแผนภูมิแสดงประเมินสมรรถนะ สมรรถนะ C สมรรถนะ B สมรรถนะ A สมรรถนะ D สมรรถนะ E ระดับสมรรถนะ ระดับที่คาดหวัง ระดับที่เป็นจริง

การพัฒนาในลักษณะขั้นบันได ระดับ 5 ผู้เชี่ยวชาญ – สามารถต่อยอด ขยายความคิด หาความรู้ใหม่มาปรับปรุงการทำงาน และกระตุ้นความสามารถในการแข่งขันขององค์การ ระดับ 4 ผู้มีประสบการณ์ – สามารถนำสมรรถนะมาปรับปรุงการทำงาน และถ่ายทอดให้ผู้อื่น เพื่อไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ได้ ระดับ 3 ผู้รู้ – สามารถประยุกต์เครื่องมือต่างๆ เพื่อช่วยในการทำงานให้ดีขึ้น ระดับ 2 ผู้เริ่มต้น – มีประสบการณ์บ้างแล้ว สามารถทำงานได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องขอคำปรึกษาจากผู้อื่น ระดับ 1 ผู้ฝึกหัด – มีความเข้าใจในงาน สามารถปฏิบัติงานได้ โดยมีผู้รู้ให้คำแนะนำปรึกษา

แนวทางการพัฒนาตนเองตามสมรรถนะ Gap ของสมรรถนะ Gap = 0 คือ มีสมรรถนะตามที่กำหนด Gap > 0 คือ มีสมรรถนะสูงกว่าที่กำหนด เป็น จุดแข็ง (+) Gap < 0 คือ มีสมรรถนะต่ำกว่าที่กำหนด เป็น จุดอ่อน (-) แนวทางการพัฒนา เสริม/ขยายจุดแข็ง ลด/ปิดจุดอ่อน

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

Balanced Scorecard Scorecard หมายถึง รายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ขององค์กร ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 Balanced หมายถึง ความสมดุลของจำนวนมุมมองที่ใช้ในการพิจารณาองค์กร เวลากำหนด ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (CSF) และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก (KPI) Scorecard หมายถึง รายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ขององค์กร ด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายนอกองค์กร (External Perspective) ด้านองค์ประกอบภายในองค์กร (Internal Perspective) ด้านนวัตกรรม (Innovation Perspective) 4. ด้านการเงิน (Financial Perspective)

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

รูปแบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน

การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management) ผลสัมฤทธิ์ (Results) = ผลผลิต (Outputs) + ผลลัพธ์ (Outcomes) Plan มีวัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมายที่ชัดเจน (ต้องการทราบว่าผลสัมฤทธิ์คืออะไร) Do มีการปฏิบัติงานที่มุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้หรือไม่ Check มีการตรวจสอบว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้หรือไม่ Act ปรับปรุงแก้ไขให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้

การประเมินแบบรอบทิศ (360 องศา) ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้ถูกประเมิน ลูกค้า ผู้ใต้บังคับบัญชา

การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) กระบวนการบริหารแบบบูรณาการที่เชื่อมโยงการวางแผนยุทธศาสตร์และเป้าหมายขององค์กร การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การติดตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยมุ่งเน้นความสอดคล้องของผลการปฏิบัติงานของบุคคลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกับเป้าหมายรวมขององค์กร

หลักของธรรมาภิบาล 1.      หลักคุณธรรม 2.      หลักนิติธรรม 3.      หลักความโปร่งใส 4.      หลักความมีส่วนร่วม 5.      หลักความรับผิดชอบ 6.      หลักความคุ้มค่า

หลักของธรรมาภิบาล

4.2 Excellence Model ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556

Thank you for your attention “Any Question? " 38 38