รายงานผลการประชุม กรมอนามัยก้าวสู่ DOH 4.0 ได้อย่างไร โดย นางวิมล โรมา ผู้อำนวยการสำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 เพื่อเพิ่มความรู้ด้านสุขภาพของประชาชน
โจทย์ข้อที่ 1 “Who are we, Who am I? นิยามความหมาย Regional Lead National Lead
GOV 4.0
โจทย์ข้อที่ 2 “Where are we, Where am I? 1.0 2.0 3.0 4.0 Digital Health SMART Citizen Value Based SMART Innovation
Value Based SMART Innovation โจทย์ข้อที่ 3 “Where do we go, Where do you go? THAILAND 4.0 MOPH 4.0 DOH 4.0 Value Based Economy Innovation เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม Value Based Healthcare สุขภาพขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม Value Based SMART Innovation กรมอนามัยขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม นิยามความหมาย
เปลี่ยนกระบวนคิด (Mind Set) Value Base SMART Innovation โจทย์ข้อที่ 4 “How to go there? เปลี่ยนกระบวนคิด (Mind Set) ปฎิวัติความคิด วิจัย เงิน ความรู้ นวตกรรม Value Base SMART Innovation
โจทย์ข้อที่ 5 “How to do? สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมอนามัย ศูนย์วิจัยและนวัตกรรม (Innovation Head quarter) Innovation Policy บทบาท พัฒนาระบบบริหารจัดการนวัตกรรมทั้งองค์กร กำหนดนโยบาย งบประมาณ และชี้ทิศทาง Innovation ของกรมอนามัยตามเป้าหมาย DoH 4.0 1.Smart kids 2.Smart longest living and healthiest Citizen 3.Disruptive Health PPP model by Health Literacy 4.GREEN & CLEAN Hospital by Tracking Tools
โจทย์ข้อที่ 5 “What to do? ทุกหน่วย (กอง/สำนัก/ศูนย์) ต้องมี Innovation Unit องค์ประกอบของหน่วย ประกอบด้วย Innovation manager Researcher Practitioner Designer มีหน้าที่ผลิตนวตกรรม ใช้กลไกขับเคลื่อนผ่าน Cluster เครือข่าย หรือ กรมอนามัย ที่มาของ Innovation วิธีการผลิต Innovation ที่ใช้ประโยชน์ได้จริง Voice of Stakeholder Voice of Customer Megatrend Co-Creation Co-Production Co-Development Outcome End user ประชาชน
Product Development Process
ตัวอย่างดีๆ จากต่างประเทศ
เวทีนำเสนอเพื่อขายไอเดียนวัตกรรม และจับคู่ระหว่างนักลงทุนและนวัตกร ตัวอย่างดีๆ จากต่างประเทศ
ตัวอย่างดีๆ จากภายในประเทศ
โจทย์ข้อที่ 5 “What to do? สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรมอนามัย ศูนย์วิจัยและนวัตกรรม (Innovation Head quarter) Innovation Policy บทบาท พัฒนาระบบบริหารจัดการนวัตกรรมทั้งองค์กร กำหนดนโยบาย งบประมาณ และชี้ทิศทาง Innovation ของกรมอนามัยตามเป้าหมาย DoH 4.0 1.Smart kids 2.Smart longest living and healthiest Citizen 3.Disruptive Health PPP model by Health Literacy 4.GREEN & CLEAN Hospital by Tracking Tools
โจทย์ข้อที่ 5 “What to do? ทุกหน่วย (กอง/สำนัก/ศูนย์) ต้องมี Innovation Unit องค์ประกอบของหน่วย ประกอบด้วย Innovation manager Researcher Practitioner Designer มีหน้าที่ผลิตนวตกรรม ใช้กลไกขับเคลื่อนผ่าน Cluster เครือข่าย หรือ กรมอนามัย วิธีการผลิต Innovation ที่ใช้ประโยชน์ได้จริง ที่มาของ Innovation Voice of Stakeholder Voice of Customer Megatrend Co-Creation Co-Production Co-Development Outcome End-user ประชาชน
โอกาสกรมอนามัยสำหรับ Start Up เพื่อสร้าง Innovation แนวคิดในการพัฒนา Content/ Delivery/Implementation Co developer (ศอ5) โปรแกรมวิเคราะห์เอกสารได้อย่าง อัจฉริยะ ด้วยระบบ OCR (สลก) Interactive website (ศอ5) ให้คน gen y คิดกระบวนการและแนวทางพัฒนา (สท) HR automation บูรณาการข้อมูลทะเบียน กำลังคน โยกย้าย (กจ) Smart card เป็นบัตรออนไลน์ update status ของบุคคล (กจ) ประกอบทีมนวัตกรรมเชื่อมกับทีม change ในองค์กร (ศอ3) การตรวจคัดกรองมะเร็งในช่องปากของผู้สูงอายุ (ศทป) การนิเทศงานที่ค้นหา critical key success index (ศอ11)
โอกาสกรมอนามัยสำหรับ Start Up เพื่อสร้าง Innovation แนวคิดในการพัฒนา content/ delivery/implementation ยุทธศาสตร์ 3 ก๊ก (ศอ7) เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็กในพื้นที่กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ให้ผู้ปกครองใช้เองได้ (ศอช) PP excellence ภาคใต้ (ศอ11) co worker (ศอ10) application RLCE 4.0 ให้มีเนื้อหาคลอบคลุมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องครบวงจร (ศปก) health promotion board (ศอ10) บริหารงานแบบ Self-managed และ Self-motivated teams (ศอ.13) ส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นไทย by NEST (cluster วัยรุ่น) นำเรื่อง Health literacy เข้ามา สร้างสรรค์ content marketing (ศส) การแสวงหาภาคีเครือข่ายระดับกระทรวงสาธารณสุข การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (อภ) โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต (ศอ9) Card technique เพื่อให้อิสระในการแสดงความเห็น (กพร)
7ข้อเสนอเชิงนโยบาย 1. จัดตั้ง Innovation head quarter (ศูนย์วิจัยและนวัตกรรม) เป็นกลุ่มงานหนึ่งในสำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อบริหารจัดการและส่งเสริมให้เกิดการวิจัย(PPP disruptive Model)และนวัตกรรม (Value-based Innovation) ในทุกหน่วยงานของกรมอนามัย (บริหารจัดการ หมายถึง กำหนดทิศทาง สร้างกลไก และขับเคลื่อน กำกับ ติดตาม และประเมินผล ให้เกิดการผลิตนวัตกรรมของกรอนามัย นำไปสู่กรมอนามัย 4.0) ให้ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย มีInnovation Unitบริหารจัดการให้เกิดนวัตกรรมเพื่อรองรับDOH 4.0 อย่างน้อย สายวิชาการส่วนกลางผลิต product หรือ model development Innovation สายสนับสนุนผลิต process หรือ management Innovation ศูนย์เขตผลิต process หรือ management Innovation
ข้อเสนอเชิงนโยบาย 3. จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการผลิตและสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการผลิตนวัตกรรม 4. ลงทุนและขยายความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกประเทศ 5. จัดทำแผนพัฒนากำลังคน (HRP/HRD/HRM) เพื่อการสร้างนวัตกร และนวตกรรม 6. ค้นหานวตกรรมและสิ่งดีๆในพื้นที่มาต่อยอดเป็นนวตกรรมใหม่ 7. จัดเวที นำเสนอนวตกรรมขายidea / จับคู่นวตกรกับนักลงทุน
04/04/60 By Wimon Roma, DoH