การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน
Advertisements

สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
สถานการณ์การเงิน การคลัง ประจำเดือน กันยายน ๒๕๕๗.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
สัญญาก่อสร้าง.
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
สรุปผลการตรวจราชการ รอบ 2 คณะที่ 4 การบริหารจัดการ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การเงินการคลัง โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2560
หน่วยบริการในเขตสุขภาพที่ 8
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
สถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหา Problem
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
กลุ่มที่ 4 ต้นแบบระบบสารสนเทศ ด้านการคลังเพื่อการบริหารจัดการ.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
PLANFIN 60 เขตสุขภาพที่ 12.
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
รูปแบบเงินกองทุนประกันสังคม
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานสถานการณ์E-claim
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ 3.3 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง

การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง จังหวัดมุกดาหาร มาตรการ ตัวชี้วัด ค่า เป้าหมาย ผลการประเมิน หมายเหตุ Small success ไตรมาส 1 หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ 100 มาตรการที่ 1: การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficient Allocation)   1.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย เมื่อเทียบกับแผนทางการเงิน (Planfin) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ผ่าน ร้อยละ 85.71 มาตรการ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่างของแผนและผลของรายได้ ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 รายได้>5% ไม่ผ่าน ค่าใช้จ่าย >5%   6 แห่ง ( 85 %) 4 แห่ง (57%)

การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง จังหวัดมุกดาหาร มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน หมายเหตุ มาตรการ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 3.1 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่า ระดับ B-) จากเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน 7 ตัว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 16% รพ.นิคมคำ สร้อย มาตรการที่ 4: พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 4.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีคุณภาพ บัญชีผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 (อิเล็กทรอนิกส์) ผ่าน 85.71%   4.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็นศูนย์ ต้นทุนนำข้อมูลเงินนอกงบประมาณ เข้าระบบ GFMIS ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 100%

การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง จังหวัดมุกดาหาร มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน หมายเหตุ มาตรการ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building)   5.1 ร้อยละของบุคลากรด้านการเงินการคลัง (CFO และ Auditor) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีแผนการอบรม มีแผนการ อบรม 2 โครงการ

การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง โรงพยาบาลหนองสูง มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน หมาย เหตุ Small success ไตรมาส 1 หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ 100 ครบถ้วน 7 แผน มาตรการที่ 1: การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficient Allocation)   1.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย เมื่อเทียบกับแผนทางการเงิน (Planfin) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 รายได้ > ค่าใช้จ่าย 13.18 ล   มาตรการ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่าง ของแผนและผลของรายได้ ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 รายได้เกิน แผน ร้อยละ 18.01 และ ค่าใช้จ่ายไม่ เกินร้อยละ 5(0.19%)

การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง โรงพยาบาลหนองสูง มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน หมายเหตุ มาตรการ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 3.1 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่า ระดับ B-) จาก เกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน 7 ตัว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ไม่ผ่าน B- มาตรการที่ 4: พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 4.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีคุณภาพ บัญชีผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 (อิเล็กทรอนิกส์) ผ่าน   4.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็นศูนย์ ต้นทุนนำข้อมูลเงินนอกงบประมาณ เข้าระบบ GFMIS ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 45 มาตรการ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building) 5.1 ร้อยละของบุคลากรด้านการเงินการคลัง (CFO และ Auditor) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีแผนการอบรม มีการอบรม สถานะการเงินระดับ 7 Plus Efficiency Score ผล B- ข้อที่ไมผ่านเกณฑ์ 3.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้การค้าประเภท (ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา) (Average payment Period) ข้อเสนอแนะ รพ.ควรเพิ่มการชำระนี้ให้เท่ากับยอดยกมาปี 61(จะทำให้ลดลง 2 ลบ.) 6.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ (Average Collection Period) แสดงถึงความสามารถในการ บริหารลูกหนี้ของโรงพยาบาล กลุ่มลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิประกันสังคมในเครือข่าย (SS) ผลงาน 230 วัน ข้อเสนอแนะ ให้ตรวจสอบการ Error จากระบบ 7. การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management) แสดงถึงความสามารถบริหารจัดการวัสดุคงคลังประเภทยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาที่อยู่ในคลังในปริมาณที่เหมาะสม ผลงาน 63 วัน ข้อเสนอแนะ ให้ตรวจสอบรายละเอียดการจัดการในรายที่มีระยะเวลายาวนาน

ประชากรทั้งหมด ณ มกราคม 2561 Benchmarking รพ. หนองสูง ประชากรทั้งหมด : ประชากร UC หน่วยบริการ UC ณ มกราคม 2561 ประชากรทั้งหมด ณ มกราคม 2561 ร้อยละ UC รพ.หนองสูง 14,111 20,780 67.91 รพ.เมืองจันทร์ 12,902 18,031 71.55 รพ.ค้อวัง 18,228 25,500 71.48 จำนวนลูกข่าย ………………. หนองสูง = 6 ค้อวัง = 6 เมืองจันทร์ = 4 หน่วยบริการ ขนาด ค่า K รพ.หนองสูง รพช.B>10-≤60 POP>10,000-20,000 1.35 รพ.ค้อวัง รพ.เมืองจันทร์

Benchmarking รพ.หนองสูง บุคลากร หน่วยบริการ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว พรก พกส รวม รพ.หนองสูง 63 7 1 31 109 รพ.เมืองจันทร์ 37 6 17 3 30 93 รพ.ค้อวัง 43 33 2 15 99 บุคลากรสาขาหลัก หน่วยบริการ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร นักเทคนิค พยาบาล กายภาพ รวม รพ.หนองสูง 3 4 2 35 1 48 รพ.เมืองจันทร์ 24 รพ.ค้อวัง 28 39

Benchmarking รพ. หนองสูง สัดส่วนบุคลากร หน่วยบริการ ข้าราชการ ลจ.ประจำ ลจ.ชั่วคราว พกส รพ.หนองสูง 57.80 6.42 29.36 รพ.เมืองจันทร์ 41.11 6.66 18.88 33.4 รพ.ค้อวัง 43.43 6.06 33.33 15.15

Benchmarking รพ.หนองสูง ประมาณการรายรับจากการจัดสรรหลังหักเงินเดือน(บาท) หน่วยบริการ OP+PP+IP หลังหัก VA CF HS PP non UC รวม รพ.หนองสูง 6,984,025.28 10,772,259 4,346,298.86 957,904.72 22,102,583.14 รพ.เมืองจันทร์ 15,684,719.69 8,000,000 4,100,599.19 27,785,318.88 รพ.ค้อวัง 22,547,033.78 3,000,000.00   355,149.26 25,547,033.78 รวมเงินรับโอน รพ (ต.ค.60-เม.ย.61) หน่วยบริการ OP PP IP รวม รพ.หนองสูง 9,392,604.08 3,115,761.63 9,196,851.76 21,705,217.47 รพ.เมืองจันทร์ 9,499,564.83 2,241,597.96 4,351,283.68 16,092,446.47 รพ.ค้อวัง 13,822,581.28 3,277,335.83 2,643,791.17 19,743,708.28

จ่ายค่าตอบแทนที่ใช้เงินบำรุง รพ./เดือน Benchmarking รพ.หนองสูง สัดส่วน OP+PP แม่ข่าย : ลูกข่าย หน่วยบริการ แม่ข่าย ลูกข่าย ร้อยละ แม่ข่าย ร้อยละลูกข่าย รพ.หนองสูง 8,992,838.21 3,515,527.50 71.89 28.11 รพ.เมืองจันทร์ 6,965,951.75 2,804,813.26 71.29 28.71 รพ.ค้อวัง 10,652,317.10 5,697,600.00 65.15 34.85 71.59% 60.65% รายจ่ายค่าตอบแทน ที่ใช้เงินบำรุง รพ. หน่วยบริการ จ่ายค่าตอบแทนที่ใช้เงินบำรุง รพ./เดือน รพ.หนองสูง 848,910.29 รพ.เมืองจันทร์ 559,844.00 รพ.ค้อวัง 1,086,871.00 28.41%

Benchmarking รพ.หนองสูง สถานการณ์การเงินการคลัง(30.เมย61) Org CR QR Cash NWC NI+Depleciation Liquid Index StatusIndex SurviveIndex Risk Scoring รพ.หนองสูง 2.72 2.53 2.15 16,400,000.00 13,189,834.39 รพ.ค้อวัง 2.11 1.97 1.76 12,402,164.88 6,367,955.91 รพ.เมืองจันทร์ 2.76 2.63 2.28 20,111,646.88 11,901,471.36 Risk Score = คะแนนประเมินภาวะวิกฤติ คือ ผลรวมของ Liquid Index + Status Index + Survive Index (7 คะแนน = วิกฤติมากสุด)(0 คะแนน = ภาวะปกติ) CR = Current ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน = >1.5 QR = Quick ration = เงินสด + ลูกหนี้สุทธิ / หนี้สินหมุนเวียน = >1.0 Cash = Cash ration = เงินสด / หนี้สินหมุนเวียน = >0.8 NWC = Net Working Capital = ทุนสำรองสุทธิ = สินทรัพย์หมุนเวียน - หนี้สินหมุนเวียน  NI = Net Income = กำไรสุทธิ = รายได้ - ค่าใช้จ่าย มาจากงบแสดงผลการดำเนินงาน (งบกำไรขาดทุน ตั้งแต่ต้นงวดถึงเดือนปัจจุบัน) NI+Depreciation = กำไรสุทธิ มีค่าเสื่อมราคา = รายได้ - ค่าใช้จ่าย(ค่าใช้จ่ายที่รวมค่าเสื่อมราคาด้วย)(Depreciation = ค่าเสื่อมราคา) Liquid Index = ดัชนีวัดสภาพคล่องทางการเงิน  ประเมินโดย อัตราส่วนสภาพคล่องที่ต่ำกว่า เกณฑ์ ให้คะแนนตัวละ 1 คะแนน Status Index = ดัชนีวัดสถานะ ว่า มีทุนสำรองสุทธิและกำไรสุทธิเท่าไร  ประเมินโดย ทุนสำรองสุทธิ ติดลบ  = 1คะแนน ,กำไรสุทธิ ติดลบ  = 1 คะแนน Survive Index = ดัชนีวัดความอยู่รอด 

Benchmarking รพ.หนองสูง ข้อมูลบริการ(ตค.-เมย 61) หน่วยบริการ IP(AN) OP Visit SumAdjRW CMI รพ.หนองสูง 3,140 40,753 1,403.19 0.47 รพ.ค้อวัง 1,011 67,310 624.63 0.64 รพ.เมืองจันทร์ 1,053 50,666 756.34 0.75 ที่มา หมายเหตุ เฉพาะข้อมูลที่ส่งเท่านั้นไม่ใช่ข้อมูลในระบบบริการ ข้อมูล IPD http://eclaim.nhso.go.th ข้อมูล OPD https://hdcservice.moph.go.th ความทันเวลาในการส่งข้อมูล (ต.ค.60-เม.ย.61) http://eclaim.nhso.go.th หน่วยบริการ ส่งทันเวลา ส่งช้า ร้อยละทันเวลา ร้อยละ ช้า รพ.หนองสูง 2,117 3 99.86 0.14 รพ.ค้อวัง 912 2 99.78 0.22 รพ.เมืองจันทร์ 950 7 99.27 0.73

ปัญหาอุปสรรค/โอกาสพัฒนา รพ.หนองสูง 1.ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล : การบันทึกครบถ้วนตรงกับบัญชี, การรับเงินลูกหนี้ IP ไม่บันทึกส่วนต่างสูง-ต่ำ (บันทึกตัวที่มากกว่าขาเดียว)ไม่เป็นไปตามนโยบาย , ความมีตัวตนตรวจไม่พบสิทธิ์ UC,ข้าราชการ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,934,110 บาท(ไม่สามารถบอกได้ว่าส่งเบิกหรือไม่) 2.เงินกองทุนUC : การบันทึกบัญชีเงินกองทุน วัสดุของ รพสต.ยังไม่ถูกต้องตามนโยบายบัญชี 3.ค่าจ่าย : ไม่ตั้งยอดค่าใช้จ่าย Internet รายเดือน 4.การรับรู้เจ้าหนี้ : ควรรับรู้เมื่อตรวจรับของครบถ้วน(รับตอนทำจัดซื้อจัดจ้าง) ไม่เป็นไปตามนโยบาย 5.Planfin : ควรเทียบผลกับแผนหลังปรับ Planfin

ปัญหาอุปสรรค/โอกาสพัฒนา รพ.หนองสูง 6. เกณฑ์ 7 Plus : ควรเพิ่มการชำระหนี้เท่ายอดที่ที่ยกมา รายการหนี้ที่มีระยะยาวควรชำระหนี้ เพื่อไม่ให้เกินเกณฑ์ 7. วัสดุ : ควรจะพัฒนาระบบการแจ้งเจ้าหนี้เพื่อควบคุมกำกับให้เป็นไปตามแผน(รายงานใบส่งของ) 8.การบริหารคลังชันสูตร : ผิดปกติ ควรมีการทวนสอบระบบ 9.การรับรู้รายได้ UC : มีการชะลอการรับรู้(รอจัดสรร) ไม่เป็นไปตามนโยบาย 10.การบริหารสินทรัพย์ : ยังมีความแตกต่างระหว่างพัสดุและบัญชี ทำให้การคิดค่าเสื่อมคลาดเคลื่อน 11.การบริหารหนี้สิน : หนี้สินคงตัว การชำระหนี้น้อยกว่าก่อหนี้ ทำให้หนี้สินไม่ลดลง(ค่ายา) 12.การบริหารสัญญายืมเงิน : ค้าง 3 สัญญา

ปัญหาอุปสรรค/โอกาสพัฒนา รพ.หนองสูง 13.พัฒนา ศักยภาพค่ารักษาพยาบาลให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน (CMI) ควรทบทวนกลุ่มโรคที่ high volume ตาม Clinical tracer จะทำให้เรามีรายรับเพิ่มขึ้น 14.ควรนำแบบประเมิน Audit มาใช้ในกลุ่มผู้ป่วย Alcohol , 2Q,8Q มาใช้ในกลุ่มจิตเวช 15. Lab ควรนำกระบวนการซื้อร่วมมาใช้ในบางรายการเช่น CBC จะทำให้ลดต้นทุนลง

ข้อชื่นชม จังหวัดมุกดาหาร มุกดาหาร มีการพัฒนาระบบการจัดเก็บรายได้ พัฒนาคน มีการนำโปรแกรม RCM มาใช้ในการเรียกเก็บ และ MUK – Claim มาใช้ในการเคลมภายในจังหวัด ในรอบ 6 เดือนแรกปี61 เทียบกับ 6 เดือนแรกปี60 จ.มุกดาหารเรียกเก็บได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 21.27 ซึ่งมากเป็นอันดับ1 ของเขต10

การเรียกเก็บชดเชยค่าบริการ ข้อมูลบริการ(ตค.-มีค. 61) ภาพเขต