งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
รอบที่ 2 ประจำปี 2561 จังหวัดอำนาจเจริญ นพ.ธีระพงษ์ แก้วภมร นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมป้องกัน สสจ.ศรีสะเกษ รองประธานคณะ 3

2 ประเด็นตรวจราชการ ประเด็นที่ 1 ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของการ ทำงาน (Happinometer) ไปใช้ ประเด็นที่ 2 อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention Rate) ประเด็นที่ 3 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ITA ประเด็นที่ 4 ร้อยละของการจัดซื้อร่วมยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม ประเด็นที่ 5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการ บริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด ประเด็นที่ 6 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA ) ของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ประเด็นที่ 7 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 ประเด็นที่ 8 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน

3 3.1 ระบบบริหารจัดการกำลังคน ด้านสาธารณสุข
ประเด็นที่ 1 ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของการ ทำงาน (Happinometer) ไปใช้ ประเด็นที่ 2 อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention Rate)

4 ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน รอบ 1/61
ประเด็นที่ 1 ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุข ของการทำงาน (Happinometer) ไปใช้ (ร้อยละ 60) ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน รอบ 1/61 การดำเนินงาน รอบ 2/61 1. ขอให้ทบทวนคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด โดยกำหนดวัตถุประสงค์ในเรื่องการนำผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล Happinometer ไปใช้ 2. ควรมีงบประมาณสนับสนุนในการขับเคลื่อน Happy MOPH ในภาพจังหวัด 3. ผู้ที่ผ่านการอบรมนักสร้างสุข ควรมีการขยายผลสร้างครู ข ในจังหวัด มีคำสัง 178/2560 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกำลังคนฯ ในการพัฒนาความสุขของบุคลกรและองค์กร และ คณะทำงานด้านการพัฒนาองค์กรแห่งความสุข (Happy MOPH) โดยมี ผอ.รพช. หัวตะพานเป็นประธานในการขับเคลื่อนงานภายใต้คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2561 มีหน่วยงานที่นำดัชนีความสุขของบุคลากร (Happinometer) ไปใช้ เพื่อจัดกิจกรรมพัฒนาความสุขของคนทำงาน จำนวน 12 หน่วยงาน จาก 15 หน่วยงาน คิดเป็นร้อยละ 80.00 นักสร้างสุขมีแผนการดำเนินการสร้างครู ข ในเดือนกรกฎาคมนี้ งบประมาณบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ ในจังหวัด ข้อเสนอแนะ 1. ควรเร่งพัฒนานักสร้างสุขให้ครอบคลุม ทุกอำเภอในจังหวัดเพิ่มเติม 30 คน 2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมการดำเนินงาน การสร้างสุขในหน่วยงาน ควรส่งข้อมูลให้ สสจ.เพื่อรวบรวมข้อมูลเป็นภาพจังหวัด

5 จำนวนบุคลากร รอบ 1/61 เปรียบเทียบ รอบ 2/61
ประเด็นที่ 2 อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention Rate) จำนวนบุคลากร รอบ 1/61 เปรียบเทียบ รอบ 2/61 ประเภทบุคลากรค จำนวนบุคลากร ณ 1 ต.ค.60 อัตราการคงอยู่ ณ 31 ธ.ค.60 สูญเสีย ร้อยละ ณ 31 พ.ค.61 สุญเสีย ขรก 1,257 1,256 1 99.92 1,247 10 99.20 พรก 55 100.00 54 98.18 ลจป 94 ลจค 205 203 2 92.02 194 11 94.63 พกส 693 682 98.41 677 16 97.69 รวม 2,304 2,290 14 99.39 2,266 38 98.35 ข้อชื่นชม โรงพยาบาลอำนาจเจริญมีการจัดตั้ง HR Clinic เพื่อให้คำปรึกษาด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ณ ต.ค มีจำนวนผู้มารับบริการ 183 ราย เช่น การลา การขอรับบำเหน็จบำนาญ ข้อเสนอแนะ ควรมีการบันทึกข้อมูลในระบบ HROPS ให้เป็นปัจจุบัน เพื่อนำข้อมูลไปวางแผนกำลังคน และกระทรวงสาธารณสุขใช้ข้อมูลในระบบ HROPS เป็นฐานข้อมูลในการจัดสรรตำแหน่ง จำนวนบุคลากรงานทรัพยากรบุคคลมีน้อยกว่ากรอบโครงสร้างอัตรากำลังขั้นต่ำ ควรจัดสรรเพิ่ม อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention Rate) ข้อมูลบุคลากร ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2561

6 ข้อมูลบุคลากรปฏิบัติจริงเปรียบเทียบกับข้อมูลในระบบ HROPS
หน่วยงาน ข้อมูลในระบบ HROPS ข้อมูลจากหน่วยงาน ผลต่าง จ.18 ปฏิบัติจริง สสจ.อำนาจเจริญ 1,463 1,455 1,430 - 25 รพท.อำนาจเจริญ 867 852 870 873 3 21 รวม 2,330 2,307 2,333 2,303 46 หมายเหตุ : สสจ.อำนาจเจริญ จำนวนข้าราชการปฏิบัติงานจริงในระบบ HROPS มากกว่า ข้อมูลจากหน่วยงาน เนื่องจากต้องนับตัวคนและอัตราเงินเดือนเพื่อใช้เลื่อนเงินเดือนรอบ 1 เม.ย. 61 รพท.อำนาจเจริญ ข้อมูลปฏิบัติจริงจากหน่วยงานเยอะกว่าในระบบ HROPS เนื่องจากมีแพทย์ฝากฝึก 21 ราย

7 3.2 ระบบธรรมาภิบาลและ องค์กรสุขภาพ
ประเด็นที่ 3 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ITA ประเด็นที่ 4 ร้อยละของการจัดซื้อร่วมยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม ประเด็นที่ 5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการ บริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด ประเด็นที่ 6 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA ) ของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ประเด็นที่ 7 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3

8 ประเด็นที่ 3 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นที่ 3 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA (เป้าหมาย : 90%) สถานการณ์ เป้าหมาย ปี 2561 กลไก /มาตรการ ไตรมาส 4 (9 เดือน) EB 1-11 หน่วยงานผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 85 จำนวน 13 หน่วยงาน ไตรมาสที่ 1 ( 3 เดือน) EB 4-6 ระดับคะแนน 3.67 ขับเคลื่อนงานตามมาตรการ 3 ป 1ค 1. ปลุกและปลูกจิตสำนึก (ระเบิดจากข้างใน : เน้นผู้นำองค์กรเป็นต้นแบบ) 2. ป้องกัน 3. ปราบปราม 4. สร้างเครือข่าย (ระดับพื้นที่) ไตรมาสที่ 2 (6 เดือน) EB 1-11 เกณฑ์ เกณฑ์ร้อยละ 80 ผ่าน 9 หน่วยงาน ผลการดำเนินงาน จุดเด่นของจังหวัด โอกาสในการพัฒนา เรื่องที่รับประสานกับส่วนกลาง รอบไตรมาสที่ 3 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์ ระดับ 4 /15 แห่ง ร้อยละ 100 - หน่วยงานต้นแบบ ปี 2560 - มีความศรัทธาต่อ เครื่องมือ ITA สามารถ เป็นครู ก. ทำ หน้าผู้ตรวจประเมินให้ คะแนะนำแก่หน่วยงาน อื่นได้ - ทุกกลุ่มฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ควรมีส่วนร่วมในการจัดทำหลักฐานเชิงประจักษ์ - พัฒนาทำงานประจำสู่ ITA - ควรปรับและแบ่งเกณฑ์การ ประเมินตามบริบทของหน่วยงาน - ควรกำหนดประเด็นเน้นหนัก ในแต่ละไตรมาส

9 Governance Excellence ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์
ประเด็นที่ 4 ร้อยละของการจัดซื้อร่วมยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุ วิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม Governance Excellence ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ KPI ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา เป้าหมาย ≥ร้อยละ25

10 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด
จังหวัดมีการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาตามแผนการจัดซื้อ ประเภท จำนวนรายการซิ้อร่วม ประหยัด ระดับเขต(รายการ) ระดับจังหวัด(รายการ) มูลค่า(บาท) ร้อยละ ยา √(134) √ (39) 3,984,515.33 5.68 วัสดุการแพทย์  √(54) 1,694,531.78 5.78 วัสดุทันตกรรม √(17) √ (9) 721,085.37 12.19 วัสดุวิทยาศาสตร์ฯ √(123) √(19) 2,738,114.40 56.61 วัสดุ X-ray   รวม 9,138,246.88 7.42 มีการทบทวนและจัดทำราคาอ้างอิงจังหวัดทำได้เกือบทุกหมวด ยกเว้น X-ray เพราะเป็นระบบ CR ทั้งหมด รูปแบบการต่อรองระดับจังหวัด เป็นการต่อรองทางโทรศัพท์ ไม่ได้นำปริมาณมาต่อรองด้วย มีรายการที่จัดทำราคาอ้างอิงได้ดังนี้ 1.ยา จำนวน 39 รายการ 2.วัสดุการแพทย์ จำนวน 54 รายการ 3.LAB จำนวน 19 รายการ 4.วัสดุทันตกรรม จังหวัด 9 รายการ และมีมูลค่าประหยัดในแต่ละหมวดดังกล่าว

11 เปรียบเทียบการจัดซื้อร่วมภาพรวม 2559-61(2 Q) จ.อำนาจเจริญ
รายการ ปี 2559 ปี 2560 2 Q ปี 2561 มูลค่า(ลบ.) ร้อยละ ซื้อร่วม ยา 36.92 25.34 60.96 45.21 30.91 44.08 วมย. 1.77 29.39 17.21 18.24 18.14 38.69 - การแพทย์ 1.22 40.16 4.03 7.81 5.82 20.97 - ชันสูตร 0.48 19.13 11.26 29.98 11.82 52.61 - ทันตกรรม 0.06 14.43 1.92 38.14 0.54 42.49 - เอกซเรย์ CR รวม 25.50 78.18 34.11 49.09 39.84 ภาพรวมการซื้อร่วมเมื่อเทียบข้อมูลย้อนหลัง ปี พบว่าเพิ่มขึ้นทั้งมูลค่าและร้อยละการซื้อร่วมเพิ่มขึ้นเรื่อย(25.50,34.11) ปี 61( 2 ไตรมาส)ผลงานร้อยละ 39.84% ข้อมูล ณ วันที่ 27 มิย.61

12 การจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา
รพ. มูลค่าจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ซื้อร่วม (บาท) ซื้อทั้งหมด (บาท) ร้อยละ รพ.อำนาจเจริญ 27,380,195.89 84,652,125.42 32.34 รพ.ชานุมาน 2,482,562.97 5,106,921.25 48.61 รพ.ปทุมราชวงศา 4,638,909.40 6,540,343.48 70.93 รพ.พนา 3,256,431.45 6,043,329.25 53.88 รพ.เสนางคนิคม 3,529,276.19 5,120,155.86 68.93 รพ.หัวตะพาน 4,124,179.96 9,188,677.20 44.88 รพ.ลืออำนาจ 3,683,631.72 6,584,551.57 55.94 รวมจังหวัด 49,095,187.58 123,236,104.03 39.84 รวมเขต 625,764,188.22 2,077,316,047.26 30.12 รวมประเทศ 6,309,293,611.91 21,455,968,784.64 29.41

13 ข้อชื่นชม ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ
ผลงานการซื้อร่วม เพิ่มขึ้นทุกปี จากปี 2559 – 2561(2 ไตรมาส) ร้อยละ25.50,34.11 และ ตามลำดับ สูงกว่าค่าเป้าหมาย(ร้อยละ25)รวมถึงผลงานระดับเขต(ร้อยละ 30.12)และระดับประเทศ(ร้อยละ 29.41) ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ ประเมินความคุ้มค่าเป็นรายหน่วยเพื่อแสดงให้เห็นความโปร่งใสคุ้มค่าและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ เสนอการจัดทำราคาอ้างอิง โดยใช้ปริมาณภาพรวมจังหวัดจากแผนจัดซื้อในการต่อรองทั้งนี้เพื่อให้มีอำนาจต่อรองและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทางราชการ

14 ประเด็นมุ่งเน้น ค่าเป้าหมาย หน่วยรับตรวจ
ประเด็นที่ 5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด ประเด็นมุ่งเน้น คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด ดำเนินการตรวจสอบภายใน และประเมินระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนมีกระบวนการติดตามหน่วยงานที่ไม่ดำเนินการตามข้อเสนอแนะของรายงานการตรวจสอบภายใน ค่าเป้าหมาย 1. ดำเนินการจัดทำแผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 2. ดำเนินการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามแผนการตรวจสอบภายในประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2561 3. รายงานผลการตรวจสอบภายใน 4. มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลเชิงผลผลิต ผลลัพธ์ 5. ข้อเสนอแนะตามรายงานการตรวจสอบภายในได้รับการแก้ไขทุกประเด็น หน่วยรับตรวจ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ โรงพยาบาลอำนาจเจริญ โรงพยาบาลหัวตะพาน

15 ผลการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายในควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด ผลการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน ปี 2561 จัดทำแผนการตรวจสอบภายใน ดำเนินการตามแผน ผลการดำเนินการตามแผน 92 หน่วย 92 หน่วย 100% ประเด็นตรวจพบ 1. การจัดเก็บรายได้ล่าช้า 2. สัญญาเงินยืมค้างนาน ภาพรวมจังหวัดอำนาจเจริญ ไตรมาส 2 ปี 2561 พบหนี้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระ 581, บาท

16 ประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายในควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด ประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 90 ภาพรวมหน่วยบริการในจังหวัดอำนาจเจริญ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ทั้ง 5 มิติ - โรงพยาบาลอำนาจเจริญ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ทั้ง 5 มิติ - โรงพยาบาลหัวตะพาน พบจุดอ่อน 2 มิติ คือ ด้านจัดเก็บรายได้ฯ และด้านการบริหารพัสดุ อยู่ระหว่างการจัดทำแผนพัฒนาองค์กร สสจ.อำนาจเจริญ ได้ส่งผลการประเมินฯ ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ครบ 100%

17 ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด จุดแข็ง - มีการขับเคลื่อนระบบการตรวจสอบภายใน โดยแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับจังหวัดครอบคลุมทุกวิชาชีพ - ดำเนินการตามแผนการตรวจสอบภายใน อย่างเป็นรูปธรรม - หน่วยรับตรวจนำข้อตรวจพบไปจัดวางระบบการควบคุมเพื่อลดความเสี่ยงของหน่วยงานได้ทันท่วงที ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ - การประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ของหน่วยบริการบางประเด็นมีความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงเนื่องจากเป็นการประเมินจากผู้ปฏิบัติงาน - ควรมีการประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ในรูปแบบคณะกรรมการของหน่วยงาน

18 ประเด็นที่ 6 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA ) ของส่วนราชการ ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สสจ.ระดับ 5 ร้อยละ 60 สสอ. ระดับ 5 ร้อยละ 20) สถานการณ์ สถานการณ์ เป้าหมาย ปี 2561 เป้าหมาย ปี 2561 กลไก /มาตรการ รอบ 3 และ 6 เดือน ประเมินจาก ความถูกต้อง ครบถ้วน ของการนำส่งข้อมูลในโปรแกรม กพร.สป. PMQA โดยตรง ไตรมาส 4 (รอบ 9 เดือน) ผลการดำเนินงาน ระดับ 4 คะแนน ใน 2 สสอ. เป้าหมาย ประกาศเป็นนโยบาย ให้หน่วยงานบริหาร สสจ.สสอ. ทุกแห่ง ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ครบทุกหมวด ผลการดำเนินงาน จุดเด่นของจังหวัด โอกาส ในการพัฒนา เรื่องที่รับประสานกับส่วนกลาง ตอบคำถามหมวด OP ครบ มีรายงานการประเมินตนเอง หมวด 1, หมวด5 มีแผนพัฒนาองค์กร หมวด 1,5 มีตัวชี้วัดผลลัพธ์ หมวด 7 สสอ. ระดับ 5 คะแนน ร้อยละ 50 เป็นจังหวัดที่มีผลงาน พัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ PMQA Award ระดับประเทศ 3 ปี ติดต่อกัน ดำเนินการในลักษณะของกิจกรรมมากกว่าเป็นระบบ ยังไม่สมารถนำเกณฑ์ PMQA มาใช้ในการจัดทำยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ควรสร้างทีมประเมินทุกระดับเพื่อรับรองทุก 4-6เดือน มาประเมินมาในเชิงการบริหารเพื่อสร้างแรงจูงใจให้คนทำงาน

19 เรื่องที่รับประสานกับส่วนกลาง
ประเด็นที่ 7 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพ มาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 (เป้าหมาย : 1.ร้อยละ 100 ของ รพศ. รพท. 2.ร้อยละ 80 ของ รพช.) ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 สถานการณ์ เป้าหมาย ปี 2561 กลไก /มาตรการ รพท. : 1 แห่ง รพท.อำนาจเจริญ ผ่าน ร้อยละ 100 หมดอายุการรับรอง 25 มกราคม 2562 รพช. : 6 แห่ง ผ่านการรับรอง 6 แห่ง ร้อยละ 100 หมดอายุการรับรองปี 2561 จำนวน 4 แห่ง หัวตะพาน ประเมิน รับรองซ้ำ ส่งการบ้าน 14 วัน รอประกาศผลการรับรอง รพ.พนา หมดอายุ 20 ก.ค. 61 ระเมินรับรองซ้ำ 3-4 กันยายน 2561 รพ.ชานุมาน หมดอายุ 10 ส.ค.61 ประเมินรับรองซ้ำ ตุลาคม 2561 รพ. เสนางคนิคม 22 ธ.ค.61 รวบรวมเอกสารส่ง รพ.ลืออำนาจ 8 ก.พ.62 รวบรวม จัดทำเอกสารส่ง จัดงบฯ เพื่อพัฒนา QLN ปีละ 50,000บาท ดำเนินการแล้ว 3 ครั้ง 2. การสนับสนุนจากหน่วยงานหลัก เพื่อ สร้าง ขวัญและกำลังใจในการ ดำเนินงาน 3. แผนการตรวจเยี่ยมเสริมพลัง Ranking เครือข่ายพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล โดยNode QLN ปทุมราชวงศา 4.โครงการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลดำเนินการเอง ประเมินรับรองซ้ำ รักษาสถานภาพ จำนวน 4 แห่ง - หัวตะพาน - พนา - ชานุมาน - เสนางคนิคม ผลการดำเนินงาน จุดเด่นของจังหวัด โอกาส ในการพัฒนา เรื่องที่รับประสานกับส่วนกลาง 1. พัฒนาสมรรถนะทีมพี่เลี้ยงที่เข้ามาใหม่ สร้าง ขยาย ทีมพี่เลี้ยง ให้เพิ่มมากขึ้นเพื่อช่วยกันพัฒนาคุณภาพ HA ให้เข้มแข็ง ยั่งยืน 2. สร้างการมีส่วนร่วม การสื่อสารในการจัดทำแผนพัฒนา เชื่อมโยง ประเด็นสำคัญให้ครอบคลุม 3. การประเมินรับรองมาตรฐาน LA เพื่อสนับสนุนการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA งบประมาณสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ ทดแทน โครงสร้างพื้นฐาน / สาธารณูปโภค ในโรงพยาบาลที่ขยายการบริการเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลที่เปิดบริการมากกว่า 15 ปี ขึ้นไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบบำบัดน้ำเสียที่ไม่สมบูรณ์ ระบบไฟฟ้าในอาคาร สิ่งแวดล้อม (ENV) ในทุกด้าน นพ.สสจ.เป็น PA เขตและ สนับสนุนการดำเนินการพัฒนา การเรียนรู้ร่วมกันของเครือข่าย พัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล ด้วยระบบพี่เลี้ยง(Quality Learning Network : QLN) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประสานงานให้ HA เป็น Ranking ในระดับจังหวัดปีละ 2 ครั้ง - รพท. / รพช ผ่านการรับรองคุณภาพ HA ทุกแห่งร้อยละ 100

20 ด้านการเงินการคลังสุขภาพ
3.3 การบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลังสุขภาพ ประเด็นที่ 8 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติ ทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 6 เป้าหมาย เขต 10 ไม่มีRisk 7

21 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง จังหวัดอำนาจเจริญ
มาตรการ ตัวชี้วัด ค่า เป้าหมาย ผลการประเมิน หมายเหตุ Small success ไตรมาส 1 หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ 100 100 % มาตรการที่ 1: การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficient Allocation) 1.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย เมื่อเทียบกับแผนทางการเงิน (Planfin) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 มาตรการที่ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่างของแผนและผลของรายได้ ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 รายได้ ไม่ผ่าน ……………. ค่าใช้จ่าย ผ่าน ผ่าน  2 แห่ง ( %) ……………. ผ่าน 6 แห่ง (85.71%)

22 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง จังหวัดอำนาจเจริญ
มาตรการ ตัวชี้วัด ค่า เป้าหมาย ผลการประเมิน หมายเหตุ มาตรการที่ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 3.1 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่า ระดับ B-) จากเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน 7 ตัว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 14.28 % ผ่าน 1 แห่ง (รพ.หัวตะพาน) มาตรการที่ 4: พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 4.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีคุณภาพ บัญชีผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 (อิเล็กทรอนิกส์) 100% 4.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็นศูนย์ ต้นทุนนำข้อมูลเงินนอกงบประมาณ เข้าระบบ GFMIS ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30

23 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง จังหวัดอำนาจเจริญ
มาตรการ ตัวชี้วัด ค่า เป้าหมาย ผลการประเมิน หมายเหตุ มาตรการที่ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building) 5.1 ร้อยละของบุคลากรด้านการเงินการคลัง (CFO และ Auditor) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีแผนการอบรม มีการอบรม

24 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง โรงพยาบาลหัวตะพาน
มาตรการ ตัวชี้วัด ค่า เป้าหมาย ผลการ ประเมิน หมาย เหตุ Small success ไตรมาส 1 หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ 100 100 % มาตรการที่ 1: การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficient Allocation)   1.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย เมื่อเทียบกับแผนทางการเงิน (Planfin) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 มาตรการ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่าง ของแผนและผลของรายได้ ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 รายได้ % รายจ่าย 4.94%

25 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง โรงพยาบาลหัวตะพาน
มาตรการ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลการ ประเมิน หมายเหตุ มาตรการที่ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 3.1 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่า ระดับ B-) จาก เกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน 7 ตัว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ผ่าน B มาตรการที่ 4: พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 4.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีคุณภาพ บัญชีผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 (อิเล็กทรอนิกส์) 100% 4.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็นศูนย์ ต้นทุนนำข้อมูลเงินนอกงบประมาณ เข้าระบบ GFMIS ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 45 มาตรการที่ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building)  5.1 ร้อยละของบุคลากรด้านการเงินการคลัง (CFO และ Auditor) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีแผนการอบรม มีการอบรม

26 Benchmarking รพ.หัวตะพาน
ประชากรทั้งหมด : ประชากร UC หน่วยบริการ UC ณ พฤษภาคม 2561 ประชากรทั้งหมด ณ มกราคม 2561 ร้อยละ UC รพ.หัวตะพาน 36,272 45,842 79.12 รพ.มหาชนะชัย 40,940 57,176 71.60 รพ.โพธิ์ไทร 37,055 45,917 80.70 รพ.ไพรบึง 35,947 46,454  77.38 รพ.นิคมคำสร้อย 35,200 48,779 72.16 จำนวนลูกข่าย ………………. หัวตะพาน = 11 มหาชนะชัย = 16 โพธิ์ไทร = 10 ไพรบึง = 7 นิคมคำสร้อย = 10 หน่วยบริการ ขนาด ค่า K รพ.หัวตะพาน รพช.F2>30,000>60,000 1.25 รพ.มหาชนะชัย 1.20 รพ.โพธิ์ไทร รพ.ไพรบึง รพ.นิคมคำสร้อย

27 Benchmarking รพ. หัวตะพาน
บุคลากร หน่วยบริการ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว พรก พกส รวม รพ.หัวตะพาน 75 10 15 4 47 151 รพ.มหาชนะชัย 67 9 11 2 36 125 รพ.โพธิ์ไทร 52 13 20 3 55 143 รพ.ไพรบึง 80 34 1 32 156 รพ.นิคมคำสร้อย 72 12 6 33 130 บุคลากรสาขาหลัก หน่วยบริการ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร นักเทคนิค พยาบาล กายภาพ รวม รพ.หัวตะพาน 6 3 4 47 63 รพ.มหาชนะชัย 5 2 44 62 รพ.โพธิ์ไทร 38 52 รพ.ไพรบึง รพ.นิคมคำสร้อย 36

28 Benchmarking รพ. หัวตะพาน
สัดส่วนบุคลากร หน่วยบริการ ข้าราชการ ลจ.ประจำ ลจ.ชั่วคราว พกส รพ.หัวตะพาน 51.02 6.80 10.20 31.97 รพ.มหาชนะชัย 55.20 7.20 8.80 28.80 รพ.โพธิ์ไทร 37.14 9.29 14.29 39.3 รพ.ไพรบึง 51.28 5.77 21.80 21.2 รพ.นิคมคำสร้อย 58.54 9.76 4.88 26.83

29 Benchmarking รพ. หัวตะพาน
ประมาณการรายรับจากการจัดสรรหลังหักเงินเดือน (บาท) หน่วยบริการ OP+PP+IP หลังหัก VA CF HS PP non UC รวม รพ.หัวตะพาน 35,366,205.47 10,700,000.00 436,273.48 46,502,478.95 รพ.มหาชนะชัย 37,249,111.01 4,000,000.00 - 794,030.26 46,043,140.26 รพ.โพธิ์ไทร 45,347,319.97 4,974,198.01 439,360.38 50,760,878.36 รพ.ไพรบึง 37,402,366.41 3,000,000.00 40,402,366.41 รพ.นิคมคำสร้อย 26,905,138.85 3,600,573.68 1,167,036.06 31,672,748.59 รวมเงินรับโอน รพ (ต.ค.60-พ.ค.61) หน่วยบริการ OP PP IP รวม รพ.หัวตะพาน 16,958,166.21 471,849.73 12,604,875.05 30,034,890.99 รพ.มหาชนะชัย 15,550,621.79 4,329,045.94 5,653,312.58 25,532,980.31 รพ.โพธิ์ไทร 28,231,939.86 6,471,237.44 8,836,441.70 43,539,619.00 รพ.ไพรบึง 23,988,909.90 5,709,292.27 7,736,651.88 37,434,854.05 รพ.นิคมคำสร้อย 17,708,034.14 4,217,409.42 4,176,543.04 26,101,986.60

30 Benchmarking รพ. หัวตะพาน
สัดส่วน OP+PP แม่ข่าย : ลูกข่าย หน่วยบริการ แม่ข่าย ลูกข่าย ร้อยละ รพ.หัวตะพาน 21,482,170.09 8,085,800.00 72.65 27.35 รพ.มหาชนะชัย 23,253,992.74 12,918,440.00 64.29 35.71 รพ.โพธิ์ไทร 24,932,255.23 10,210,282.45 70.95 29.05 รพ.ไพรบึง 16,788,143.96 5,555,880.98 75.13 24.87 รพ.นิคมคำสร้อย 16,477,561.16 5,447,882.40 75.15 24.85 71.59% หน่วยบริการ ค่าตอบแทน รพ.หัวตะพาน 14,199,507.00 รพ.มหาชนะชัย 11,835,577.94 รพ.โพธิ์ไทร 11,529,704.88 รพ.ไพรบึง 10,080,846.00 รพ.นิคมคำสร้อย 11,397,028.00 60.65% รายจ่ายค่าตอบแทน ที่ใช้เงินบำรุง รพ. 28.41%

31 Benchmarking รพ.หัวตะพาน
สถานการณ์การเงินการคลัง(30 พฤษภาคม 61) Org CR QR Cash NWC NI+Depleciation Liquid Index StatusIndex SurviveIndex Risk Scoring รพ.หัวตะพาน 0.97 0.84 0.63 -866,329.33 10,889,455.46 3 1 4 รพ.มหาชนะชัย 1.00 0.87 0.61 -132,989.34 1,398,969.56 รพ.โพธิ์ไทร 2.34 2.14 1.95 18,349,860.13 9,141,583.94 รพ.ไพรบึง 3.26 3.09 2.77 29,822,510.30 8,969,149.13 รพ.นิคมคำสร้อย 1.66 1.55 1.34 11,154,408.81 9,799,382.23 Risk Score = คะแนนประเมินภาวะวิกฤติ คือ ผลรวมของ Liquid Index + Status Index + Survive Index (7 คะแนน = วิกฤติมากสุด)(0 คะแนน = ภาวะปกติ) CR = Current ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน = >1.5 QR = Quick ration = เงินสด + ลูกหนี้สุทธิ / หนี้สินหมุนเวียน = >1.0 Cash = Cash ration = เงินสด / หนี้สินหมุนเวียน = >0.8 NWC = Net Working Capital = ทุนสำรองสุทธิ = สินทรัพย์หมุนเวียน - หนี้สินหมุนเวียน  NI = Net Income = กำไรสุทธิ = รายได้ - ค่าใช้จ่าย มาจากงบแสดงผลการดำเนินงาน (งบกำไรขาดทุน ตั้งแต่ต้นงวดถึงเดือนปัจจุบัน) NI+Depreciation = กำไรสุทธิ มีค่าเสื่อมราคา = รายได้ - ค่าใช้จ่าย(ค่าใช้จ่ายที่รวมค่าเสื่อมราคาด้วย)(Depreciation = ค่าเสื่อมราคา) Liquid Index = ดัชนีวัดสภาพคล่องทางการเงิน  ประเมินโดย อัตราส่วนสภาพคล่องที่ต่ำกว่า เกณฑ์ ให้คะแนนตัวละ 1 คะแนน Status Index = ดัชนีวัดสถานะ ว่า มีทุนสำรองสุทธิและกำไรสุทธิเท่าไร  ประเมินโดย ทุนสำรองสุทธิ ติดลบ  = 1คะแนน ,กำไรสุทธิ ติดลบ  = 1 คะแนน Survive Index = ดัชนีวัดความอยู่รอด 

32 Benchmarking รพ.หัวตะพาน
ข้อมูลบริการ(ตค.-พ.ค.61) หน่วยบริการ IP(AN) OP Visit SumAdjRW CMI รพ.หัวตะพาน 2,614 73,087 1,740.33 0.67 รพ.มหาชนะชัย 2,642 65,966 1,466.62 0.56 รพ.โพธิ์ไทร 2,144 50,410 1,473.00 0.69 รพ.ไพรบึง 2,017 57,326 1,313.23 0.65 รพ.นิคมคำสร้อย 1,940 52,883 1,158.00 0.60 ที่มา หมายเหตุ เฉพาะข้อมูลที่ส่งเท่านั้นไม่ใช่ข้อมูลในระบบบริการ ข้อมูล IPD ข้อมูล OPD ความทันเวลาในการส่งข้อมูล (ต.ค.60-พ.ค.61) หน่วยบริการ ส่งทันเวลา ส่งช้า ร้อยละทันเวลา ร้อยละ ช้า รพ.หัวตะพาน 2,622 - 100 รพ.มหาชนะชัย 1,919 2 99.90 0.10 รพ.โพธิ์ไทร 2,402 1 99.96 0.04 รพ.ไพรบึง 2,032 30 98.55 1.45 รพ.นิคมคำสร้อย 1,798 3 99.83 0.17

33

34

35 ความสำเร็จในการดำเนินงาน
ข้อชื่นชม/ปัญหาอุปสรรค จังหวัดอำนาจเจริญ ความสำเร็จในการดำเนินงาน ไม่มีหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7 ปัญหาอุปสรรค ภาระค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนที่เพิ่มขึ้นตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2544 (ฉบับที่ 11 , 12) พ.ศ อาจส่งผลต่อสภาพคล่อง และภาวะวิกฤติทางการเงิน

36 ผลการตรวจสอบคุณภาพบัญชี รพ.หัวตะพาน
1. การบันทึกลูกหนี้ต่ำกว่าความเป็นจริง ทำให้การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลังคลาดเคลื่อน ให้ทบทวน ตรวจสอบการบันทึกลูกหนี้ 2. การบันทึกรับรู้รายได้คลาดเคลื่อนเมื่อเทียบกับ ข้อมูลที่บันทึกไว้ในระบบ Hosxp และการบันทึกรับรู้ไม่เป็นไปตามนโยบาย เช่น 1.1 สิทธิชำระเองบันทึกต่ำกว่าที่เกิดรายได้จริง 1.2 สิทธิจ่ายตรงกรมบัญชีกลางบันทึกสูงกว่าที่เกิดจริง 1.3 สิทธิ UC บันทึกสูงกว่าที่เกิดจริง 1.4 สิทธิ พรบ.รถ ไม่บันทึกตามนโยบาย 3. บันทึกรับเงินตามจ่ายแรงงานต่างด้าวเป็นรับฝาก(เป็นหนี้สิน) 4. การบันทึกรับรู้เงินกองทุน UC OP PP ไม่เป็นไปตามนโยบาย ทำให้จากการตรวจสอบเบื้องต้นมียอดเงิน 1.93 ลบ. ที่ยังไม่ได้จัดสรรแม่ข่ายลูกข่าย แต่บัญชีเงินรับฝากกองทุน UC ไม่มีเงินยอดนี้ปรากฎ 5. การบันทึกค่ารักษาสิทธิ UC ตามจ่ายในจังหวัด ไม่เป็นไปตามนโยบายมีผลทำให้ทุนสำรองสุทธิต่ำเกินจริง

37 ความสำเร็จในการดำเนินงาน
ข้อชื่นชม รพ.หัวตะพาน ความสำเร็จในการดำเนินงาน ผู้บริหาร และทีมงาน มีความเข้มแข็ง มุ่งมั่น มี Vision Mission Core Value และ Strategic Plan ที่ชัดเจน “โรงพยาบาลเป็นมิตร ประชาชนศรัทธา : CARE TRUST”

38 1. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน
(Happinometer) ไปใช้ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) 2. อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention Rate) (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85) 3. ร้อยละของหน่วยบริการในสังกัดฯผ่านเกณฑ์ประเมิน ITA (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) 4. ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และ วัสดุทันตกรรม (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20) 5. ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัดฯมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด 6. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA (ระดับ 5 ร้อยละ 60) 7. ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดฯ มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HAขั้น 3 (รพศ./รพท. ร้อยละ 100 , รพช. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80) 8. ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติการเงิน (Risk7 ไม่เกินร้อยละ 6)

39 “มุกศรีโสธรเจริญราชธานี”


ดาวน์โหลด ppt คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google