ประชุมการจัดทำการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังกรมอนามัย ครั้งที่ 2/2560 วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 9.30 – 12.00น. ณ ห้องประชุมสำนักส่งเสริมสุขภาพ อาคาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำกัด (มหาชน)
2 ตาม พ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ. ศ ******************* กำหนดให้ อ. ก. พ. กระทรวง เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประจำ 10 รวม 35 อัตราข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วยราชการ - ไปช่วยราชการ 2 (1. นางศรินทร์ เจริญผล.
ยโสธร นายปรีชา เจริญยศ นายสุรศักดิ์ รุ่งฤทธิ์ นางนงนุช ทวินันท์
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พัทลุง นายเจษฎา ครรชิตานุรักษ์ -ว่าง- นายวีระยุทธ เมฆินทรางกูร
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การคำนวณอัตรากำลัง (Work Load). เป็นโครงการพัฒนาคุณภาพ จัดทำโดย : คณะกรรมการ TQA หมวด 5 และ คณะกรรมการ HRD.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กรอบการประเมิน 4 มิติ DPIS (1/59)
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
การจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน (Unit School)
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังกรมอนามัย
การส่งกำลังบำรุงในระดับต่าง ๆ ของ ทบ.
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
การเตรียมความพร้อมเมื่อกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการมีผลใช้บังคับ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมการจัดทำการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังกรมอนามัย ครั้งที่ 2/2560 วันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 9.30 – 12.00น. ณ ห้องประชุมสำนักส่งเสริมสุขภาพ อาคาร 7 ชั้น 3 กรมอนามัย

วาระที่ 1 : เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระการประชุม การจัดทำการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังกรมอนามัย ครั้งที่ 2/2560 วาระที่ 1 : เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ - แนวทางการจัดทำโครงสร้างและกรอบอัตรากำลัง วาระที่ 2 : เรื่องสืบเนื่อง วาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา - การวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังของหน่วยงานภายใน กรมอนามัย

วาระที่ 4 : เรื่องอื่นๆ ถ้ามี ระเบียบวาระการประชุม การจัดทำการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังกรมอนามัย ครั้งที่ 2/2560 วาระที่ 4 : เรื่องอื่นๆ ถ้ามี

วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ แนวทางการจัดทำโครงสร้างและกรอบอัตรากำลังกรมอนามัย วัตถุประสงค์ 1. การแบ่งงานกันทำเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารและการปฏิบัติราชการ โดยวางโครงสร้างฯให้สอดคล้องและสัมพันธ์กับการส่งเสริมสุขภาพ ตามกลุ่มวัย (Life course approach) 2. เพิ่มโอกาสให้ข้าราชการได้แสดงออกในบทบาทและหน้าที่ ตามบทบาทที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน และสร้างโอกาสความก้าวหน้าของข้าราชการ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 2 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558

แนวคิด ใช้หลักคิดการส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย Life course approach ที่เชื่อมโยงการทำงานและแบ่งกลุ่มการทำงานกัน เน้นการบูรณาการการทำงาน ทั้งในส่วน Agenda และ Function ลงไปถึง Area ให้เกิดการเชื่อมโยงกัน บทบาทกรมอนามัยในฐานะผู้อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม

ผ่านความเห็นชอบจาก อ.ก.พ. อ.ก.พ. กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2559 มีมติเห็นชอบตามที่เสนอ อ.ก.พ. กระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2559 มีมติเห็นชอบให้ปรับโครงสร้างตามที่เสนอ ในส่วนการเกลี่ยอัตรากำลังให้พิจารณาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่ง ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 2 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 โดยมีโครงสร้างการบริหารงานใหม่ ดังนี้

โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการกรมอนามัยตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2552

 กรณีกำหนดตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการกำหนดตำแหน่งตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 2 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558  กรณีกำหนดตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ 1) กลุ่มงานที่ต่ำกว่าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกองหรือเทียบกอง 1 ระดับ และรายงานตรงต่อผู้อำนวยการกอง มีผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่น้อยกว่า 4 ตำแหน่ง โดยเป็นประเภทวิชาการไม่น้อยกว่า 2 ตำแหน่ง และอาจนำตำแหน่งข้าราชการ ประเภททั่วไป หรือพนักงานราชการ หรือลูกจ้างประจำ ซึ่งปฏิบัติงานลักษณะเช่นเดียวกับข้าราชการ มานับรวมได้ (สัดส่วนต่อข้าราชการ เท่ากับ 2 : 1)

 กรณีตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ 1) กลุ่มงานที่ต่ำกว่าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกองหรือเทียบกอง 1 ระดับ อาจกำหนดตำแหน่งเป็นระดับชำนาญการพิเศษ ได้กลุ่มละไม่เกิน 1 ตำแหน่ง 2) สำหรับกลุ่มงานที่มีปริมาณงานสูงมาก และมีอัตรากำลังไม่น้อยกว่า 9 ตำแหน่ง โดยเป็นตำแหน่งข้าราชการประเภทวิชาการไม่น้อยกว่า 5 ตำแหน่ง และอาจนำตำแหน่งข้าราชการประเภททั่วไป หรือ พนักงานราชการ หรือลูกจ้างประจำ ซึ่งปฏิบัติงานลักษณะ เช่นเดียวกับข้าราชการมานับรวมได้ (สัดส่วน ต่อข้าราชการ 2 : 1) ให้กำหนดตำแหน่งชำนาญการพิเศษ เพิ่มได้ 1 ตำแหน่ง

 กรณีการกำหนดตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส  กรณีการกำหนดตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส 1) ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป ที่ต่ำกว่าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกอง หรือเทียบกอง 1 ระดับ เช่น เจ้าพนักงานธุรการ 2) ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานที่ปฏิบัติภารกิจหลักบริการทั่วไปของกรม เช่น เจ้าหน้าที่ปกครอง และตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานการเงินและบัญชี และหัวหน้ากลุ่มงานพัสดุ มีผู้ใต้บังคับบัญชาไม่น้อยกว่า 6 ตำแหน่ง โดยเป็นตำแหน่งข้าราชการ ไม่น้อยกว่า 2 ตำแหน่ง และอาจนำตำแหน่งพนักงานราชการ หรือลูกจ้างประจำ ซึ่งปฏิบัติงานลักษณะเช่นเดียวกับข้าราชการมานับรวมได้ (สัดส่วนต่อข้าราชการ 2:1)

วาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา การวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังของหน่วยงานภายในกรมอนามัย หลักเกณฑ์และแนวทางการจัดทำกรอบอัตรากำลังกรมอนามัย พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 - มาตรา 47 บัญญัติว่าตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญจะมีในส่วนราชการใด จำนวนเท่าใด และเป็นตำแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใดให้เป็นไปตามที่ อ.ก.พ.กระทรวง กำหนด โดยต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้ำซ้อนและประหยัดเป็นหลัก ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนดและต้องเป็นไปตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามมาตรา 48 (โดยจำแนกตำแหน่งเป็นประเภทและสายงานตามลักษณะงาน และจัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพของงานเท่ากันโดยประมาณเป็นระดับเดียวกัน ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน)

กระบวนการและขั้นตอนการดำเนินงาน ขั้นตอนการวิเคราะห์ แผนการดำเนินงาน การวิเคราะห์ยุทธศาสตร์และภารกิจองค์กร ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์กระบวนงานและการใช้เวลา วิเคราะห์อุปสงค์กำลังคน วิเคราะห์อุปทานกำลังคน การพิจารณาเปรียบเทียบกับกรอบอัตรากำลังขององค์กรอื่นๆ กำหนดกรอบอัตรากำลัง การวิเคราะห์ข้อมูลจากความคิดเห็นแบบ 360 องศา กำหนดจำนวน สายงาน และประเภทการจ้างงาน

กรอบอัตรากำลังกรมอนามัย (เบื้องต้น) ปริมาณงาน/FTE ภารกิจสำนัก กอง ศูนย์ฯปัจจุบัน ภารกิจที่คาดการณ์ กำลังคนที่มี กำลังคนที่ควรมี กลั่นกรองในหน่วยงาน ผู้บริหาร สายวิชาชีพ ส่วนกลางสายวิชาการ FTE อัตรากำลังเดิม ศอ. 1 – 12 พิจารณา จำนวนจังหวัดในเขตสุขภาพ(40%) จำนวนประชากร(40%) จำนวนหน่วยบริการทุกระดับในเขต (20%) การวิเคราะห์กรอบ อัตรากำลัง ส่วนกลางสายสนับสนุน เปรียบเทียบกับกรมวิชาการอื่น FTE กรอบอัตรากำลังกรมอนามัย (เบื้องต้น) ผู้บริหารพิจารณา

การหากรอบอัตรากำลังโดยใช้ค่าเฉลี่ยจากการเปรียบเทียบอัตรากำลัง 6 กรม ของสำนัก/กอง 1.สายสนับสนุน หน่วยงาน จำนวนบุคลากร กรมอนามัย (1) จำนวนบุคลากรควบคุมโรค (2) กรมสุขภาพจิต (3) จำนวนบุคลากรกรมการแพทย์ (4) กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ (5) จำนวนบุคลากรกรมสนับสนุนบริการ (6) รวมบุคลากร 6 กรม (7) 1+2+…+6 อัตราบุคลากรสายสนับสนุนต่อบุคลากรในกรมเฉลี่ย (1 : …) (ผลรวมบุคลากรรวมของทุกกรม/(7)) (8) กรอบกรมอนามัยที่ควรมี (จำนวนบุคลากรกรมอนามัย/(8)) (9) GAP (จำนวนบุคลากรที่มี-กรอบอัตรากำลัง) (1-9) สำนักงานเลขานุการกรม 50 65 77 46 28 36 302 95 39 11 กองการเจ้าหน้าที่ 76 87 44 64 21 32 324 89 41 35 กองคลัง 70 62 33 52 25 37 279 103 34 กองแผนงาน/สำนักยุทธศาสตร์(กรม แพทย์) 42 98 53 30 338 85 43 -1 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 13 9 5 56 514 7 4 กลุ่มตรวจสอบภายใน 17 14 67 429 8 ศูนย์สื่อสารสาธารณะ 16 20 22 12 93 309 ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ 18 10 24 443 1 จำนวนบุคลากรในกรม (รวมทุก ประเภท) 3,673 5,745 5,223 11,595 1,310 1,225 28,771  

กรอบอัตรากำลังสายสนับสนุน หน่วยงาน จำนวนบุคคลากรที่ปฏิบัติงาน min max สำนักงานเลขานุการกรม 50 39 70 กองการเจ้าหน้าที่ 76 41 79 กองคลัง 37 86 กองแผนงาน 67 63 81 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 11 9 21 กลุ่มตรวจสอบภายใน 17 12 22

การวิเคราะห์อัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 1 เปรียบเทียบอัตรากำลังภายในสำนัก/กอง แบ่งขนาดเล็กและใหญ่ ภารกิจ สำนัก โภชนาการ กองกิจกรรม ทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ สำนักสุขาภิบาล อาหารและน้ำ กองประเมิน ผลกระทบ ต่อสุขภาพ สำนักอนามัย ผู้สูงอายุ สำนักทันตสาธารณสุข* สำนักส่งเสริมสุขภาพ* สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ* สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม* กลุ่มอำนวยการ 16 10 28 13 11 9 68 17 กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ 8 7 3 19 กลุ่มวิชาการ 31 22 26 29 94 83 65 44 รวม 55 41 56 49 47 21 120 170 79 72

การวิเคราะห์อัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ ขั้นที่ 1.2 หาค่ามาตรฐานภายในกรมโดยใช้ค่ามัธยฐานแบ่งขนาดสำนัก/กอง (Median = 55.5) และใช้ค่า Quatile ที่ 1 และ 3 กำหนดเป็นกรอบ กลุ่มภารกิจ ค่าเฉลี่ยอัตรากำลัง (Mean) ค่ามัธยฐานอัตรากำลัง (Median) ค่าเฉลี่ยกรอบสำนักกองขนาดเล็ก (Q1) ค่าเฉลี่ยกรอบสำนักกองขนาดใหญ่ (Q3) กรอบสำนักเล็ก กรอบสำนักใหญ่ กลุ่มอำนวยการ 19.9 14.5 11 17 กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ 9.1 9.5 7 กลุ่มวิชาการ 42 30 23 60 รวม 71 55.5 48 77

การวิเคราะห์อัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ ขั้นที่ 1.3 หาส่วนขาดของอัตรากำลัง (จำนวนข้าราชการ – กรอบอัตรากำลัง) กลุ่มภารกิจ สำนัก โภชนาการ กองกิจกรรม ทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ สำนักสุขาภิบาล อาหารและน้ำ กองประเมิน ผลกระทบ ต่อสุขภาพ สำนักอนามัย ผู้สูงอายุ สำนักทันตสาธารณสุข* สำนักส่งเสริมสุขภาพ* สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ* สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม* กลุ่มอำนวยการ 5 -1 17 2 -2 51 -6 กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ 1 4 3 -4 8 -8 กลุ่มวิชาการ 6 -14 34 23 -16 รวมส่วนขาด 14 -20 82

การวิเคราะห์อัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 2 เปรียบเทียบสัดส่วนอัตรากำลังระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย ขั้นที่ 2.1 เปรียบสัดส่วนอัตรากำลังระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย กลุ่มภารกิจ ผลรวมอัตรากำลังของกรมอนามัย ผลรวมอัตรากำลังกรมควบคุมโรค เมื่อปรับสัดส่วนบุคลากรเท่ากับกรมอนามัย ค่าเฉลี่ยอัตรากำลังสองกรม ร้อยละค่าเฉลี่ยอัตรากำลัง (ค่ามาตรฐาน) ด้านอำนวยการ 199 131 164.80 23.21 ด้านยุทธศาสตร์ 91 69 80.21 11.30 ด้านวิชาการ 420 510 465.00 65.49 รวม 710 710.00 100.00

การวิเคราะห์อัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 2 เปรียบเทียบสัดส่วนอัตรากำลังระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย ขั้นที่ 2.2 นำค่าสัดส่วนที่เป็นค่ามาตรฐานมากำหนดกรอบอัตรากำลังในแต่ละสำนัก/กอง ภารกิจ สำนัก โภชนาการ กองกิจกรรม ทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ สำนักสุขาภิบาล อาหารและน้ำ กองประเมิน ผลกระทบ ต่อสุขภาพ สำนักอนามัย ผู้สูงอายุ สำนักทันตสาธารณสุข* สำนักส่งเสริมสุขภาพ* สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ* สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม* กลุ่มอำนวยการ 13 9 11 5 28 39 กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ 6 2 19 กลุ่มวิชาการ 36 27 32 31 14 78 111 รวม 55 41 56 49 47 21 120 170

การวิเคราะห์อัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 2 เปรียบเทียบสัดส่วนอัตรากำลังระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย ขั้นที่ 2.3 หาส่วนขาดของอัตรากำลัง (จำนวนข้าราชการ – กรอบอัตรากำลัง) ภารกิจ สำนัก โภชนาการ กองกิจกรรม ทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ สำนักสุขาภิบาล อาหารและน้ำ กองประเมิน ผลกระทบ ต่อสุขภาพ สำนักอนามัย ผู้สูงอายุ สำนักทันตสาธารณสุข* สำนักส่งเสริมสุขภาพ* สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ* สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม* กลุ่มอำนวยการ 3 1 15 2 4 -12 29 กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ 5 -3 กลุ่มวิชาการ -5 -19 -6 -2 16 -28 รวมส่วนขาด -15

การวิเคราะห์อัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ ตารางสรุปการวิเคราะห์ส่วนขาดอัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ สำนัก/กอง จำนวนบุคลากรที่มี รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 จำนวนบุคลากรตามกรอบจากการเปรียบเทียบภายในส่วนกลางกรมอนามัย GAP จำนวนบุคลากรตามกรอบจากการเปรียบเทียบภายในส่วนกลางกรมควบคุมโรค สำนักโภชนาการ กลุ่มอำนวยการ 16 11 5 13 3 กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ 8 7 1 6 2 กลุ่มวิชาการ 31 23 36 -5 กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ 10 -1 9 4 22 27 สำนักอนามัยเจริญพันธุ์ 28 17 15 -6 -19 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 26 32 กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 29 -2 สำนักอนามัยผู้สูงอายุ -4 -14 14

การวิเคราะห์อัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ ตารางสรุปการวิเคราะห์ส่วนขาดอัตรากำลังสายวิชาการเปรียบเทียบ 2 รูปแบบ สำนัก/กอง จำนวนบุคลากรที่มี รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 จำนวนบุคลากรตามกรอบจากการเปรียบเทียบภายในส่วนกลางกรมอนามัย GAP จำนวนบุคลากรตามกรอบจากการเปรียบเทียบภายในส่วนกลางกรมควบคุมโรค สำนักทันตสาธารณสุข กลุ่มอำนวยการ 16 17 -1 28 -12 กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ 10 11 13 -3 กลุ่มวิชาการ 94 60 34 78 สำนักส่งเสริมสุขภาพ 68 51 39 29 19 8 83 23 111 -28 สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ -6 18 -7 3 -8 9 65 5 14 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 44 -16 47

กรอบอัตรากำลังสายวิชาการ หน่วยงาน จำนวนบุคคลากรที่ปฏิบัติงาน min max สำนักส่งเสริมสุขภาพ 270 237 249 สำนักทันตสาธารณสุข 123 109 145 สำนักโภชนาการ 55 63 66 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 114 105 กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 41 48 68 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 72 90 97 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 49 50 กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 47 56

แบบฟอร์มกรอบอัตรากำลังสำนัก/กอง แบบฟอร์ม 2 กรอบอัตรากำลังกรมอนามัย สำนัก/กอง........................... กลุ่มงาน................................................................................   ลำดับ สายงาน/ตำแหน่ง (ทุกประเภทการจ้างงาน) อัตรากำลังที่มีจริง ณ ปัจจุบัน (รวมช่วยราชการ) จำนวนอัตรากำลังที่ควรมี หมายเหตุ ขรก. พรก. ลจป. พกส. รวม MIN MAX จัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพของงานเท่ากัน ตำแหน่งข้าราชการ (ไม่ระบุระดับ) 1 นักวิชาการสาธารณสุข 2 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 3 นักจัดการงานทั่วไป 4 5 6

แบบฟอร์มสรุปกรอบอัตรากำลังสำนัก/กอง แบบฟอร์ม 3 สรุปกรอบอัตรากำลังกรมอนามัย สำนัก/กอง............................................... ลำดับ สายงาน/ตำแหน่ง (ทุกประเภทการจ้างงาน) อัตรากำลังที่มีจริง ณ ปัจจุบัน (รวมช่วยราชการ) จำนวนอัตรากำลังที่ควรมี หมายเหตุ ขรก. พรก. ลจป. พกส. รวม MIN MAX 1 ผู้อำนวยการ   จัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพของงานเท่ากัน 2 นักวิชาการสาธารณสุข 3 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 4 นักจัดการงานทั่วไป 5 6 7

ส่งไฟล์เอกสารภายในวันที่ 8 มีนาคม 2560 ทาง E-mail : songkran. w@anamai ส่งไฟล์เอกสารภายในวันที่ 8 มีนาคม 2560 ทาง E-mail : songkran.w@anamai.mail.go.th โทร 02-5904084 สงกรานต์ กองการเจ้าหน้าที่ สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์ม ได้ที่เว็บไซต์กองการเจ้าหน้าที่ ที่แบนเนอร์เอกสารการประชุม หัวข้อ การประชุมวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง ครั้งที่ 2/2560